บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนลำดับที่ 197 เขียนโดย จรัญ โฆษณานันท์ รองศาสตราจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง : บทความวิชาการเกี่ยวกับกฎหมาย
หลักสำคัญของรัฐธรรม ม. 30 ที่บัญญัติว่า บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย และได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน….. (และ)การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล เพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่อง…. สภาพทางกายหรือสุขภาพ…..จะกระทำมิได้

ความรู้สึกขมขื่นของสองทนายความ ที่เป็นโปลิโอซึ่งถูกปฏิเสธการสมัครสอบคัดเลือกเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา ด้วยข้ออ้างว่ามีร่างกายไม่เหมาะสม และยังได้รับการปฏิเสธการขอความเป็นธรรมซ้ำจากศาลรัฐธรรมนูญ ยิ่งหลังจากทราบข่าวว่ากระทรวงการต่างประเทศ ให้โอกาสแก่คนพิการตาบอดได้เข้าสมัครสอบเป็นเจ้าหน้าที่การฑูต น่าคิดว่าทนายความพิการทั้งสองจะมีความรู้สึกเปรียบเทียบอย่างไร

จริงทีเดียวที่คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2545 ลงวันที่ 30 เมษายน 2545 ดูจะเป็นข่าวชิ้นเล็กๆ ที่ไม่ค่อยได้รับความใส่ใจจากสังคม ทั้งที่เป็นการวินิจฉัยในประเด็นเชิงหลักการพื้นฐานหนึ่งของสังคม กระทั่งหลักหมายแห่งปัญญาของสังคมอย่างอาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์ยังเห็นว่าเป็นคำวินิจฉัยที่เป็นเรื่องใหญ่และมีนัยสำคัญต่ออนาคตของสังคมไทยยิ่งกว่าคดีซุกหุ้นของนายกรัฐมนตรี (มติชน 20 พ.ค. 2545)

สองทนายความโปลิโอ
release date
200745

บทความของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการนำไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ กรุณาอ้างอิงตามสมควร
หากประสบปัญหาภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลดขนาดของ font ลงมา จะแก้ปัญหาได้

 

N
home

(บทความนี้ยาวประมาณ 4 หน้ากระดาษ A4) ภาพประกอบดัดแปลงเพื่อใช้ประกอบบทความ ผลงานต้นฉบับของ Seymour Chwast เป็นภาพ Poster นำมาจากหนังสือ Aiga Graphic Design USA:2 หน้า 182 (หนังสือจากห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) R 760.0973 A512A v.2

 

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ทางเลือกเพื่ออุดมศึกษาไท / บทความนี้เผยแพร่ครั้งแรกบน website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2545 เป็นต้นมา

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ


Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ

สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิก member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard
ข้างล่างของบทความชิ้นนี้

หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
midnight2545(at)yahoo.com
midnightuniv(at)yahoo.com

ความพิการของกฎหมายและผู้บังคับใช้กฎหมาย
กรณีสองทนายความโปลิโอ

รองศาสตราจารย์ จรัญ โฆษณานันท์
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

แม้สังคมที่คนส่วนใหญ่มุ่งคิดแต่การรู้รักษาตัวรอด หากบางขณะที่ปัญญาสังคมผุดเกิดหวนรำลึกถึงคติรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา เราน่าจะสัมผัสได้ถึงความรู้สึกขมขื่นของสองทนายความที่เป็นโปลิโอ ซึ่งถูกปฏิเสธการสมัครสอบคัดเลือกเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษาด้วยข้ออ้างว่ามีร่างกายไม่เหมาะสม และยังได้รับการปฏิเสธการขอความเป็นธรรมซ้ำจากศาลรัฐธรรมนูญ ยิ่งหลังจากทราบข่าวว่ากระทรวงการต่างประเทศให้โอกาสแก่คนพิการตาบอด ได้เข้าสมัครสอบเป็นเจ้าหน้าที่การฑูต น่าคิดว่าทนายความพิการทั้งสองจะมีความรู้สึกเปรียบเทียบอย่างไร

จริงทีเดียวที่คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2545 ลงวันที่ 30 เมษายน 2545 ดูจะเป็นข่าวชิ้นเล็กๆ ที่ไม่ค่อยได้รับความใส่ใจจากสังคม ทั้งที่เป็นการวินิจฉัยในประเด็นเชิงหลักการพื้นฐานหนึ่งของสังคม กระทั่งหลักหมายแห่งปัญญาของสังคมอย่าง นิธิ เอียวศรีวงศ์ ยังเห็นว่าเป็นคำวินิจฉัยที่เป็นเรื่องใหญ่ และมีนัยสำคัญต่ออนาคตของสังคมไทยยิ่งกว่าคดีซุกหุ้นของนายกรัฐมนตรี (มติชน 20 พ.ค. 2545)

ภายหลังจากที่คณะอนุกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติ ของผู้สมัครสอบคัดเลือกเป็นข้าราชการตุลาการเห็นว่า ทนายความผู้สมัครสองรายที่เป็นโปลิโอ มีร่างกายไม่เหมาะสมตามกฎหมายระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการ และที่ประชุม กต. ก็เห็นชอบด้วยกับความเห็นดังกล่าวจึงมีมติไม่รับสมัคร (รายละเอียด)

 

เนื่องในโอกาสครบรอบ ๓ ปี
อนิจกรรมของอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ณ ป๋วยเสวนาคาร โรงเรียนวัดปทุมคงคา ถนนทรงวาด สัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐
วันเสาร์ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๕

เนื่องในโอกาสครบรอบ ๓ ปี อนิจกรรมของอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ณ ป๋วยเสวนาคาร โรงเรียนวัดปทุมคงคา ถนนทรงวาด สัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐

๐๘.๓๐ น. กราบอัฐิอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ณ บริเวณวิหารคต (ฝั่งวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร)

๐๙.๐๐ น. นิมนต์สามเณร จำนวน ๕ รูป สวดบังสุกุล

๐๙.๓๐ น. ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล กล่าวคำอนุสสติ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๓ ปี
อนิจกรรมของอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์

๐๙.๔๕ น. พระราชรัตนดิลก เจ้าอาวาสวัดปทุมคงคาราชวรวิหาร สักการะอัฐิของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (สี)
ณ ที่บรรจุอัฐิของท่าน

๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. เสวนาภาคเช้า เรื่อง "มหาวิทยาลัยใหม่ในอุดมคติ" ปรีดา เรืองวิชาธร

๑๔.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. เสวนาภาคบ่าย เรื่อง "การศึกษาทางเลือก : ชีวิตคือการศึกษา จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" กลุ่มปฏิบัติการทางด้านการศึกษาทางเลือก

นอกจากนี้ พบกับนิทรรศการศิลปะ และละครหุ่นมือเด็ก จากโรงเรียนวัดปทุมคงคา
รายการวิทยุเด็ก ซุ้มการละเล่นสำหรับเด็กอีกมากมาย

สอบถามรายละเอียดได้ที่ โทรศัพท์ ๐-๒๘๖๐-๒๑๙๔

 

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา I webboard

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

สำหรับสมาชิกที่ต้องการ download ข้อมูล อาจใช้วิธีการง่ายๆดังต่อไปนี้

1. ให้ทำ hyper text ข้อมูลทั้งหมด
2. copy ข้อมูลด้วยคำสั่ง Ctrl + C
3. เปิด word ขึ้นมา (microsoft-word หรือ word pad)
4. Paste โดยใช้คำสั่ง Ctrl + V
จะได้ข้อมูลมา ซึ่งย่อหน้าเหมือนกับต้นฉบับทุกประการ
(กรณีตัวหนังสือสีจาง ให้เปลี่ยนสีเป็นสีเข้มในโปรแกรม word)

 

มีอยู่หลายเหตุผลที่ทำไมคนถึงยังสร้างงาน Graffiti อยู่
บางส่วนคือการย้อนกลับไปในยุคที่มีการกดขี่พวกเขาและนำไปสู่การก่อเหตุจลาจล
เพื่อต่อต้านสังคมที่มีแต่ความฉ้อฉลและอยุติธรรม สำหรับเหตุผลอื่น ๆคือการแสดงออกถึงการสร้างสรรค์ ที่บริสุทธิ์ในรูปแบบของศิลปะ มีคนเคยบอกว่า ให้ทุ่มเทการสร้างสรรค์งานลงบนกำแพง
และมันจะสามารถย้อนกลับไปมองเห็นความหวาดกลัว ความหวัง ความฝันและความอ่อนแอ
แน่นอนว่ามันจะให้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ของจิตใจภายในตัวคุณ
บทความปลายเดือนกรกฎาคม ของ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
บทความชิ้นนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมย่อย(Sub culture)ของปรากฏการณ์ของ hip hop Graffiti
ของวัยรุ่น(โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Graffiti ที่ทำงานบนพื้นที่กำแพงสาธารณะ และสถานีรถไฟใต้ดิน
จนกระทั่งเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นศิลปร่วมสมัย และเข้าไปในวงการธุรกิจ)ที่เกิดขึ้นในนิวยอร์ก
ในช่วงปลายยุคทศวรรษที่ 1960 - ต้นทศวรรษที่ 1970 จนถึงปัจจุบัน
(สนใจรายละเอียด กรุณาคลิกที่แบนเนอร์)