บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 234 เกี่ยวกับแนวคิดวิพากษ์วัฒนธรรมสมัยใหม่ ซึ่งเป็นที่มาของวัฒนธรรมศึกษาของนักคิดเยอรมันและฝรั่งเศสรุ่นหลังต่อมา

เป้าหมายหลักอันแรกของ Observations
คือนักเขียนเยอรมัน David Friedrich Strauss, ผู้เขียนเรื่อง Life of Jesus อันทรงอิทธิพล โดยผ่านการเปรียบเทียบรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องราวของ Jesus ใน Gospels
ซึ่งได้ให้เหตุผลว่า ศาสนาคริสต์เป็นมายาคติอันหนึ่ง ซึ่งได้มารับใช้ความต้องการของผู้คนของยุคสมัยนั้น

Neitzsche ได้อ่านงานที่น่าตกใจนี้ถึงยี่สิบรอบ ซึ่งได้มีการตีความขึ้นมาใหม่เพื่อปลดปล่อยเนื้อหาอันเป็นมายาคติให้เป็นอิสระ(demythologizing) และรู้สึกประทับใจอย่างลึกซึ้งกับการวิจารณ์เชิงปรัชญาของเขา

สำหรับ Neitzsche วัฒนธรรมมวลชนผนึกรวมถึงหนังสือพิมพ์, รูปแบบต่างๆทางวัฒนธรรม นับจากนิตยสารต่างๆไปจนถึงสิ่งพิมพ์ทางวิชาการทั้งหลาย, ศาสนา, การเมือง, เบียร์, และชาตินิยม (บางส่วนจากเนื้อหาบทความ เขียนโดย Douglas Kellner)

ภาพประกอบดัดแปลง ผลงานภาพถ่ายของ Guy Bourdin, New York จากหนังสือ AIGA Graphic Design USA2 หน้า 81 สำหรับผลงานจิตรกรรมผลงานของ Fernando Botero ชื่อภาพ Our Lady of Colombia, 1967 จากหนังสือ Botero หน้า 134 (นำมาจากห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ : มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สมดุล และเป็นธรรม

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ


Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ

สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิก member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard
ข้างล่างของบทความชิ้นนี้

หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
midnight2545(at)yahoo.com
midnightuniv(at)yahoo.com

Neitzsche ในช่วงแรกมองกรีกในฐานะที่เป็นแบบของวัฒนธรรมที่แข็งแรง มีสุขภาพ และเป็นอินทรีย์ที่มีชีวิตซึ่งให้กำเนิดปัจเจกชนในเชิงสร้างสรรค์และมั่นคงหนักแน่นขึ้นมา. ในหนังสือซึ่งได้รับการตีพิมพ์ขึ้นมาเล่มแรกเรื่อง _The Birth of Tragedy_, Neitzsche ได้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง "วัฒนธรรมแบบ Dionysian ที่สั่นสะเทือนและกังวานอยู่ในวัฒนธรรมกรีกก่อนโสกราตีส" กับ "เรื่องโศกนาฏกรรมกรีก และหลักฐานอันขึ้งเครียดและมีความเป็นเหตุเป็นผลมากกว่าของวัฒนธรรม Apolonian ซึ่งอยู่ในยุคเหตุผลแบบโสกราตีสและเรื่องโศกนาฏกรรมกรีกในยุคต่อมา". (คำโปรย คัดมาจากเนื้อหาบทความ)

การวิพากษ์วัฒนธรรมมวลชน ของ นิทเช่
Nietzsche's Critique of Mass Culture
เขียนโดย Douglas Kellner - เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม
(บทความเรื่องนี้ยาวประมาณ 20 หน้ากระดาษ A4)

เช่นเดียวกันกับ Karl Marx, Friedrich Nietzsche สามารถที่จะได้รับการทำความเข้าใจในฐานะที่เป็นนักทฤษฎี และนักวิจารณ์ที่ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของยุคสมัยใหม่ ซึ่งได้วิจารณ์สิ่งที่มีอยู่ทั้งหมดในยุคของเขาอย่างไม่ปรานี[1]. ข้อถกเถียงอันทรงพลังของ Nietzsche ที่มีต่อศาสนา, ศีลธรรม, และปรัชญาได้แปรขบวนการวิจารณ์ที่ได้รับแรงดลใจในยุคสว่าง(Enlightenment) และแนวคิด vitalism แบบโรแมนติค ให้มาปะทะกันอย่างรุนแรง โดยเขาได้โจมตีแง่มุมต่างๆที่ปฏิเสธเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของวัฒนธรรมสมัยใหม่
(Vitalism หมายถึงแนวคิดที่เชื่อว่า กำเนิดชีวิตขึ้นอยู่กับพลังหรือหลักการอันหนึ่ง ไม่ใช่เรื่องของเคมีและพลังทางกายภาพล้วนๆ)

อีกประการหนึ่ง Nietzsche ได้วิจารณ์สถาบันต่างๆและค่านิยมมากมายของสังคมสมัยใหม่ ในฐานะที่เป็นพลังและการสร้างสรรค์ที่มากดขี่ ทั้งนี้เพราะมันได้มาปิดกั้นพลังแห่งการก่อเกิดปัจเจกชนที่เข้มแข็ง และสังคมและวัฒนธรรมที่กระฉับกระเฉงกว่าเอาไว้นั่นเอง (รายละเอียด)

 

(1) McDonaldization กับ ร่างกายคนไทย
(โกสุม โอมพรนุวัฒน์) นิสิตปริญญาเอก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(2) เปลือยสื่อเห็นร่างทรงโฆษณา
(นิษฐา หรุ่นเกษม)
นิสิตปริญญาเอก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(3) โครงการแห่งความเจ็บปวด (The Suffering Project)
(โกสุม โอมพรนุวัฒน์) นิสิตปริญญาเอก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(4) วิพากษ์อุตสาหกรรมภาพยนตร์ : ศิลปะหรือเพียงเหล้าดองสมองทุน
(เรียบเรียงโดย : สมเกียรติ ตั้งนโม) สาขาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

(5) กระบวนทัศน์การพัฒนาของรัฐ : จากผู้ใหญ่ลีถึงหลุยส์ วิตตอง
(อรศรี งามวิทยาพงศ์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(6) น้ำยาวิชานิติศาสตร์ไทย
(สมชาย ปรีชาศิลปกุล) สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(7) The Piggish Link : ตุ้ยนุ้ยตลอดกาล ว่าด้วยวาทกรรมบนเรือนร่าง
(นิษฐา หรุ่นเกษม) นิสิตปริญญาเอก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(8) คนจนกับความหมาย (ตีพิมพ์ในมติชน เดือนธันวาคม)
(นิธิ เอียวศรีวงศ์) มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

 

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา I webboard I random page

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

next