03.12.44
release date

CP
MP
WB
Contents P.
Member P
Webboard
next
home
hybrid image : ภาพผสม ดัดแปลงมาจาก ผลงานของ William Beckman (1992) และผลงานของ Glenys Barton (1991)
บทความแปล เกี่ยวกับปรัชญา โพส์ทโมเดิร์น
ธันวาคม 2544

ในสองทศวรรษที่ผ่านมา การถกเถียงกันเกี่ยวกับโพส์ทโมเดิร์น ได้มีอิทธิพลอย่างมากต่อฉากทางด้านวัฒนธรรม และวงวิชาการในหลายสาขาวิชาทั่วโลก ในด้านทฤษฎีสุนทรียศาสตร์และวัฒนธรรม, การโต้เถียงกันปรากฏตัวขึ้นมา ท่ามกลางลัทธิโมเดิร์นทางศิลปะ ไม่ว่ามันจะยังคงดำเนินต่อไป หรือยังไม่ตายก็ตาม แต่สิ่งที่เป็นเรื่องของโพส์ทโมเดิร์น กำลังไล่หลังตามมาติดๆ

ในทางปรัชญา ข้อถกเถียงกันต่างๆได้ปะทุขึ้นมาในความสนใจ ไม่ว่าขนบจารีตของปรัชญาสมัยใหม ่จะสิ้นสุดลงแล้วหรือไม่ก็ตาม, แต่หลายต่อหลายคน เริ่มให้การยกย่องปรัชญาโพส์ทโมเดิร์นใหม่ที่ไปเชื่อมโยงกับ เกี่ยวเนื่องกับ Nietzche, Heidegger, Derrida, Rorty, Lyotard, และคนอื่นๆ

นักศึกษา สมาชิก หากภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลดขนาดของ font ลงมา จะแก้ปัญหาได้
Quotation
D1
การศึกษาทางไกลฟรี สำหรับนักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจทุกท่าน ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ท ของ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : ประจำเดือน ธันวาคม 2544

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ


Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ

สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิกที่ปุ่ม member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ปุ่ม contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard

หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
(midnightuniv(at)yahoo.com)

สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง
สนใจอ่านต้นฉบับ กรุณาคลิกไปอ่านได้ที่ http://www.uta.edu/huma/pomo_theory/index.html
(ความยาวของบทความ ประมาณ 10 หน้ากระดาษ A4)

หน้าถัดไปของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

การวิจารณ์ของฟูโกเกี่ยวกับความเป็นสมัยใหม่และลัทธิมนุษยนิยม,
พร้อมกับคำประกาศของเขาเกี่ยวกับความตายของมนุษย ์และการพัฒนามุมมองหรือทัศนียภาพใหม่ๆในทางสังคม, ความรู้, วาทกรรม, และอำนาจ ได้ทำให้เขากลายเป็นทรัพยากรหลักของความคิดโพส์ทโมเดิร์นคนหนึ่ง. ฟูโกแสดงการต่อต้านต่อขนบจารีตของยุคสว่าง(anti-Enlightenment) โดยปฏิเสธเรื่องของเหตุผล, การปลดปล่อยให้เป็นอิสระ, และความก้าวหน้า, โดยถกถึงการเผชิญหน้ากันระหว่างรูปแบบสมัยใหม่ต่างๆของอำนาจและความรู้ ที่ได้มารับใช้ ตกแต่ง
และสรรค์สร้างรูปแบบใหม่ๆของการครอบงำขึ้นมา.
โพสท์โมเดิร์นเป็นคำใหม่ในสังคมไทย แต่ถึง พ.ศ.นี้ โพสท์โมเดิร์นก็ไมได้เป็นศัพท์แสงที่จำกัดอยู่แต่ในวงการปัญญาชน และนักวิชาชีพตามมหาวิทยาลัยอีกต่อไปแล้ว อิทธิพลของโพสท์โมเดิร์นต่อวงการศิลปะ-ภาพยนตร์-สถาปัตยกรรม-วรรณกรรม ทำให้แม้แต่ชาวบ้านร้านตลาดก็เผชิญกับการหลอกหลอนของคำนี้อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
สนใจอ่านรายละเอียด คลิกที่แบนเนอร์
พระเซ็นรูปหนึ่งต้องการแสวงหาคำสั่งสอน จึงเอ่ยถามโพธิธรรมว่า "ข้าพเจ้าไร้สิ้นซึ่งความสงบแห่งจิตใจ โปรดช่วยทำให้จิตใจของข้าพเจ้าสงบลงด้วยเถิด"
"จงนำจิตใจของท่านมาวางไว้ตรงหน้าเรา"โพธิธรรมตอบ"แล้วเราจะทำให้จิคใจนั้นสงบลง"
"แต่เมื่อข้าพเจ้าตามหาจิตใจของข้าพเจ้า" พระเซ็นรูปนั้นตอบ"ข้าพเจ้าหาพบมันไม่"
"นั่นไง" โพธิธรรมเน้นเสียง "เราทำสำเร็จแล้ว"
H
และแล้ว วาทกรรมว่าด้วยเรื่อง ร่างกาย ก็ได้ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึง
และตีความกันอีกครั้งหนึ่ง ในครั้งนี้เป็นนิทรรศการ ของ Tate Britain ในหัวข้อที่ว่า Exposed: The Victorian Nude (ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2001 - 27 มกราคม 2002) ตามจุดประสงค์หลักของการจัดงานนิทรรศการครั้งนี้ คือ การแสดงการเชื่อมโยง และความต่อเนื่องทางความคิด ทั้งในแง่ สุนทรียภาพ (Aesthetic), ศีลธรรม (Morality), ความฝันและจินตนาการทางเพศ (Sexuality and Desire) ในบริบทของร่างกาย ทั้งผู้ชาย และผู้หญิง