มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ


Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ

สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิก member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard
ข้างล่างของบทความชิ้นนี้

หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
midnight2545(at)yahoo.com
midnightuniv(at)yahoo.com

R
ภาพประกอบบทความเรื่อง'"บนเส้นทางของความน่าเกลียด": ว่าด้วยเรื่องของสุนทรียศาสตร์, ผลงานจิตรกรรมของ Jenny Saville ชื่อภาพ Prop.ี 1993 เทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบ
relate
release date
120246

QUOTATION

เวลาที่นักปรัชญาพูดถึง"ความน่าเกลียด" ทำให้คนทั่วไปอย่างเรารู้สึกว่า "ความน่าเกลียด ไม่ใช่อะไรอย่างที่เราเข้าใจเสียแล้ว" เป็นเพราะพวกเขาพิจารณามันอย่างรอบคอบและถกเถียงกันมานานในประวัติศาสตร์

ความน่าเกลียด"ไม่เคยมีอยู่เลยในธรรมชาติ เพราะมันถูกสร้างขึ้นโดยพระผู้เป็นเจ้าซึ่งพระองค์คือองค์แห่งสัมบูรณภาพ, แต่มันมีอยู่ในสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เพราะมนุษย์เป็นสิ่งที่ไม่สมบูรณ์...
(ตัดมาบางส่วนจากบทความ)

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 241 เดือนกุมภาพันธ์ 2546 "บนเส้นทางของความน่าเกลียด" ว่าด้วยเรื่องของสุนทรียศาสตร์
สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง, (กระบวนวิชาปรัชญาศิลปะ และ ศิลปวิจารณ์) คณะวิจิตรศิลป์ มช.


Midnight University Chiangmai Thailand

Jerome Stolnitz
ประวัติศาสตร์ความน่าเกลียดในสุนทรียศาสตร์
บนเส้นทางของความน่าเกลียด : ว่าด้วยเรื่องของสุนทรียศาสตร์
สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง
(บทความนี้ยาวประมาณ 13 หน้ากระดาษ A4)

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ที่น่าสนใจ

234. การวิพากษ์วัฒนธรรมมวลชน ของ นิทเช(เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม)
235. อุดมศึกษาในทัศนะของนิธิ (บทสัมภาษณ์ ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์)
236. บทสัมภาษณ์ : โครงการวิจัยการศึกษาทางเลือก (สัมภาษณ์ สุชาดา จักรพิสุทธิ์)
237. ทลายความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องการทำแท้ง (กฤตยา อาชวนิจกุล มหาวิทยาลัยมหิดล)
238. มหาวิทยาลัยในอินเดียเชิงเปรียบเทียบ (สัมภาษณ์ ดร.ประมวล เพ็งจันทร)์

239. การสำรวจเชิงอนาธิปไตย กรณีเขื่อนปากมูล (จัดโดย มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
)
240. ความรู้ที่ขาดหายไปในกระบวนการตัดสินในของรัฐ กรณีเขื่อนปากมูล (
จัดโดย มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
241. บนเส้นทางของความน่าเกลียด : ว่าด้วยเรื่องของสุนทรียศาสตร์ (เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม)

 

 

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา I webboard I ประวัติ ม.เที่ยงคืน

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

สำหรับสมาชิกที่ต้องการ download ข้อมูล อาจใช้วิธีการง่ายๆดังต่อไปนี้

1. ให้ทำ hyper text ข้อมูลทั้งหมด
2. copy ข้อมูลด้วยคำสั่ง Ctrl + C
3. เปิด word ขึ้นมา (microsoft-word หรือ word pad)
4. Paste โดยใช้คำสั่ง Ctrl + V
จะได้ข้อมูลมา ซึ่งย่อหน้าเหมือนกับต้นฉบับทุกประการ
(กรณีตัวหนังสือสีจาง ให้เปลี่ยนสีเป็นสีเข้มในโปรแกรม Microsoft-word)


 

 

หากผู้อ่านหรือสมาชิก ประสบปัญหาภาพ และตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลดขนาด font ลง จะแก้ปัญหาได้

นักบุญออกัสตินกล่าวว่า "โลกและทุกสิ่งทุกอย่างในโลกใบนี้ ได้ถูกสร้างสรรค์ขึ้นมาโดยพระผู้เป็นเจ้าอันดีงามอย่างหาที่สุดมิได้ ในฐานะที่เป็นการแสดงออกอันหนึ่งของความสง่างามและความดีของพระองค์..."

แนวความคิดของเขาเกี่ยวกับความจริงหรือสัจธรรม เป็นเรื่องสุนทรียภาพอย่างเด่นชัด. ทุกสรรพสิ่งคือภาพลักษณ์ต่างๆของความคิดเกี่ยวกับแบบและความกลมกลืน(All things are images of the ideas of form and harmony)ที่ดำรงอยู่ในพระจิตของพระผู้เป็นเจ้า และการรวมเข้าด้วยกัน พวกมันได้สร้างเอกภาพอันเป็นระบบระเบียบภายในอันหนึ่งขึ้นมา จะเห็นได้ว่า ขอบเขตหรือปริมณฑลต่างๆของทฤษฎีสุนทรียศาสตร์แบบกรีก ได้ถูกนำมาเขียนเอาไว้ส่วนใหญ่ในเมตาฟิสิกส์ของเขา

ให้พวกเรามาลองพิจารณาถึงตรรกะ อย่างเช่น, "X เป็นสิ่งน่าเกลียด แต่ในเชิงสุนทรียภาพ มันดี" มิได้มีความขัดแย้งในตัวเอง และอันที่จริง อาจเป็นบางสิ่งบางอย่างซึ่งเราต้องการ และอยากที่จะกล่าว

บรรดาศิลปินสมัยใหม่หรือศิลปินในยุคโมเดิร์นเหล่านั้น ผู้ซึ่งเลิกลาและทอดทิ้งความพึงพอใจเกี่ยวกับความงามไปโดยตั้งใจ ในฐานะที่เป็นเป้าหมายของความพยายามในเชิงสร้างสรรค์ของพวกเขา มันได้สร้างหนทางเกี่ยวกับเสียงพูดอันนี้ขึ้นมา ซึ่งยากจะไม่เชื่อถือเช่นดังที่เคยเป็นมา (ตัดมาบางส่วนจากบทความ)
Ugliness : by Jerome Stolnitz; จาก The Encyclopedia of Philosophy
บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน 241 หัวเรื่องปรัชญาศิลป: ว่าด้วยเรื่อง "ความงาม"และ"ความน่าเกลียด"
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สมดุล และเป็นธรรมสำหรับสังคมไทย : บทความชิ้นนี้เผยแพร่ครั้งแรกบนเว็ปไซค์ วันอังคารที่ 12 ก.พ..2546
H
next
N
next