เว็ปไซค์บริการฟรี มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สมดุล และเป็นธรรม : บทความลำดับที่ 260 ประจำเดือน เมษายน ๒๕๔๖

ในทศวรรษที่ 1990 แนวความคิดของนิติปรัชญาแนวอิตถีศาสตร์ได้เปลี่ยนแปลงไปด้วยการให้ความสนใจกับความหลากหลายของหญิงมากขึ้น (diversity among women) ที่ผ่านมาแนวความคิดนิติสตรีศาสตร์แบบเสรีนิยม สายสุดขั้ว และสายวัฒนธรรม พิจารณาหญิงในฐานะที่เป็นกลุ่มขนาดใหญ่ ที่ไม่ได้คำนึงถึงความแตกต่างที่มีอยู่ท่ามกลางผู้หญิงด้วยกันเอง ประเด็นหลักของนิติปรัชญาแนวอิตถีศาสตร์ในระยะนี้คือ การมองถึงความแตกต่างที่มีอยู่ภายในกลุ่มผู้หญิงด้วยกันเอง

ความเปลี่ยนแปลงนี้เป็นผลมาจากการวิพากษ์ของกลุ่มผู้หญิงผิวสี และพวกหญิงรักร่วมเพศ (lesbians) อันเป็นกลุ่มที่ถูกกีดกันออกไปจากสตรีนิยมกระแสหลักภายใต้การอธิบายถึงเพศหญิงในภาพทั่วไป นักสตรีนิยมพบว่า มีความเป็นไปได้น้อยมากในการเข้าถึงความเสมอภาคสำหรับผู้หญิงที่ไม่ใช่ผิวขาว ชนชั้นกลาง สตรีนิยมในทศวรรษ 1990 จึงได้วิพากษ์กลุ่มสตรีนิยมที่พยายามวาดภาพลักษณะทั่วไปอันเป็นสาระสำคัญของเพศหญิง

การเคลื่อนไหวของความคิดนิติปรัชญาแนวอิตถีศาสตร์ ปรากฏขึ้นเป็นกระแสความคิดสำคัญนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1970 ในสหรัฐอเมริกา โดยเป็นแนวความคิดที่โต้ตอบกับกระแสความคิดทางกฎหมายที่เป็นผลิตผลจากอุดมการณ์ของเพศชาย ซึ่งมีผลในการกีดกันเพศหญิงออกจากการมีส่วนร่วมในงานทางด้านกฎหมาย (legal affair) และสถาปนาความเหนือกว่าของเพศชายขึ้นทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ไม่สงวนลิขสิทธิ์ เฉพาะในการนำไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ หากนำไปอ้างอิงหรือพิมพ์ซ้ำ กรุณาแจ้งให้ทราบด้วย ทาง e-mial
R
RANDOM
release date
210446

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 260 เดือนเมษายน 2546 หัวเรื่อง "นิติปรัชญา แนวอิตถีศาสตร์" โดย
สมชาย ปรีชาศิลปกุล, สาขานิติศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เผยแพร่ครั้งแรก บนเว็ปไซค์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน วันที่ 21 เมษายน 2546

ภาพประกอบดัดแปลง ใช้ประกอบบทความให้บริการฟรีของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เรื่อง "นิติปรัชญาแนวอิตถีศาสตร์" เขียนโดย สมชาย ปรีชาศิลปกุล สาขานิติศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / หากประสบปัญหาภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลดขนาดของ font ลง จะแก้ปัญหาได้
Catherine Mackinnon "the dominance of the male group is made to sum a feature of life, not a one-sided construct imposed by force for the advantage of a dominant group."
บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ประจำเดือน เมษายน 2546
นิติปรัชญาแนวอิตถีศาสตร์ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการในการประชุมของกลุ่มนิติศาสตร์แนววิพากษ์ (Critical Legal Studies: CLS) เมื่อ ค.ศ. 1983

นิติปรัชญาแนวอิตถีศาสตร์
(Feminist Jurisprudence/Feminist Legal Theory)

สมชาย ปรีชาศิลปกุล
สาขานิติศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

(บทความนี้ยาวประมาณ 12 หน้ากระดาษ A4)

 

 

 

 

 

 


ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา I ประวัติ ม.เที่ยงคืน

webboard(1) I webboard(2)

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

สำหรับสมาชิกที่ต้องการ download ข้อมูล อาจใช้วิธีการง่ายๆดังต่อไปนี้

1. ให้ทำ hyper text ข้อมูลทั้งหมด
2. copy ข้อมูลด้วยคำสั่ง Ctrl + C
3. เปิด word ขึ้นมา (microsoft-word หรือ word pad)
4. Paste โดยใช้คำสั่ง Ctrl + V
จะได้ข้อมูลมา ซึ่งย่อหน้าเหมือนกับต้นฉบับทุกประการ
(กรณีตัวหนังสือสีจาง ให้เปลี่ยนสีเป็นสีเข้มในโปรแกรม Microsoft-word)

 

N
next page

250. การประจันหน้ากับจักรวรรดิ : นอม ชอมสกี้ (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ และ วิภาพันธ์ ก่อเกียรติขจร)
251.
การต่อต้านสงครามสหรัฐกับอิรัก (กิจกรรมเดือนมีนาคม - เมษายน 2546)
252. อิสราเอล-อิรัค-และสหรัฐอเมริกา โดย Edward Said (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
253. ธิดาแห่งไอซิส ฤาผู้หญิงจะถูกกดขี่เช่นเดียวกันทั้งโลก (วารุณี ภูริสินสิทธิ์ : คณะสังคมศาสตร์ มช.)
254. การปฏิรูประบบสาธารณสุขในรูป องค์กรมหาชน(1) (โดย สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ - ถอดเทปโดย วรพจน์ พิทักษ์)
255. การปฏิรูประบบสาธารณสุขในรูป องค์กรมหาชน(2) (โดย สุรพล นิติไกรพจน์ - ถอดเทปโดย วรพจน์ พิทักษ์)

256.
ระบอบทักษิณกับวัฒนธรรมการเมืองปฏิปักษ์ปฏิรูป (โดย เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธ.)(New)
257. การประจันหน้ากับจักรวรรดิ : อรุณธาติ รอย (แปลโดย ชนิดา จรรยาเพศ แบมฟอร์ด)
(New)
258. สื่อเป็นพิษ ภายใต้การกำกับของทุน (อภิปรายนำโดย นิธิ เอียวศรีวงศ์ : มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน) (New)
259. องค์ประกอบและประวัติศาสตร์การวิจารณ์ศิลปะ (เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม) (New)
260. นิติปรัชญาแนวอิตถีศาสตร์ (สมชาย ปรีชาศิลปกุล สาขานิติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มช.)
(คลิกไปหน้าสารบัญ)