บทความอาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์ ซึ่งเคยตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เครือมติชน ปี พ.ศ.2544 / รวบรวมโดยมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
Remote Educational Service from Midnight Univ.
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ
Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
เพื่อผู้สนใจในการศึกษาโดยไม่จำกัดคุณวุฒิ
เพราะเราเชื่อว่า
มหาวิทยาลัยควรเป็นแหล่งที่ให้ความรู้
สำหรับคนทุกคนได้ และมีเสรีภาพ
ในการเรียนรู้ ตามที่ตนปรารถนา
สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิกที่ปุ่ม member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความทั้งหมด
ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ปุ่ม contents page
ส่วนผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard

ขอขอบคุณทุกท่านที่ใฝ่ในการศึกษา
และช่วยบอกต่อสาระความรู้ไปฝากเพื่อน
contents page
member page
webboard
H
home
ภาพประกอบต้นฉบับ เขียนโดย George Tooker จากนิตยสาร Art in America ฉบับ November 2000 (ภาพดัดแปลง)
website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เป็นบริการทางการศึกษาฟรี โดยไม่หวังผลกำไร หากมีข้อแนะนำ
กรุณาส่งถึง midnightuniv(at)yahoo.com / สำหรับผู้ประสบปัญหา ภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน
กรุณาลดขนาดของ font ลงมา จะแก้ปัญหาทางเทคนิคได้

สำหรับการนำเอาบทความของ อาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์ มารวมอยู่ใน website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ในชื่อ "ข้อคิดและมุมมองของนิธิ" : รวมบทความที่เคยตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์(1) ีวัตถุประสงค์หลักก็เพื่อจะรวบรวมงานดังกล่าวสำหรับนักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจที่พลาดงานของอาจารย์ใน webboard ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน และต้องการจะอ่าน สามารถที่จะมาดูได้จากหน้านี้ ซึ่งจะทยอยนำมาเผยแพร่เป็นระยะๆ ส่วนจะนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านใด ก็สุดแล้วแต่

บทความเหล่านี้ เป็นงานที่เคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้วในมติชนรายวัน และสุดสัปดาห์ แต่ไม่ได้ใส่วันที่ไว้ เพราะตอนที่เริ่มเก็บรวบรวม ก็คิดว่าจะเอามาอ่านเอง เลยไม่ได้ทำอ้างอิงถูกต้องตามหลักวิชาการไว้ จึงขออภัยมา ณ ที่นี้

สำหรับตอนที่ 1 ได้นำเอาบทความจำนวน 4 ชิ้น มารวมอยู่ใน webpage เดียวกัน คือ
1. วัฒนธรรมการอ่าน (เป็นการวิเคราะห์เรื่องการอ่านและการฟัง ซึ่งมีวัฒนธรรมในการสื่อสารแตกต่างกัน)
2. คนจนกับทางออกของสังคม (เป็นการวิเคราะห์ถึงความยากจนในสังคมไทย ที่เกิดจากปัญหาเชิงโครงสร้าง และความไม่เป็นทำในการจัดสรรทรัพยากร)
3.รัฐธรรมนูญผู้โดดเดี่ยว (วิเคราะห์การมองรัฐธรรมนูญจากมุมของคนเมืองกับคนชนบทที่แตกต่างกัน)
4. เบี้ยกุดชุม (เป็นการค้นหาคำอธิบายเรื่องเศรษฐศาสตร์ และการเปรียบเทียบเงินตรา กับ เบี้ยกุดชุม)

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านงานของ อ.นิธิ จะทำให้เราเข้าใจสังคมไทยมากขึ้น

 

1

webpage นี้มีความยาวประมาณ
16 หน้ากระดาษ A4

นโยบายพัฒนาที่มุ่งแต่จะสร้างความมั่งคั่งให้แก่คนจำนวนน้อย โดยการที่รัฐแย่งชิงเอาทรัพยากรจากคน ส่วนใหญ่ไปบำเรอผลประโยชน์ของคนส่วนน้อยตลอดเวลา ก็เป็นสาเหตุที่สำคัญของความยากจนในเมือง ไทย ยิ่งคนจนไร้อำนาจก็ยิ่งทำให้ไม่สามารถปรับเปลี่ยนนโยบายพัฒนาได้เลย ดังเช่นทีมผู้ยกตัวอย่าง จากการศึกษามูลค่าน้ำในเขื่อนที่สร้างอ่างเก็บน้ำบางแห่งว่า น้ำหนึ่งลูกบาศก์เมตรจะมีราคาต้นทุนตั้งแต่ 40-20 กว่าบาท ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่จะเอาไปใช้ในการผลิตอะไรให้กำไร

แต่ที่สามารถทำได้ก็เพราะผลักภาระต้นทุนส่วนใหญ่ไปให้ประชาชนโดยไม่ยอมจ่ายค่าชดเชยต่าง

Random page

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

แผนที่ความคิด(mind maps) เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้เราคิด และเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ.
ข้อความที่จะอ่านต่อไปนี้จะอธิบายให้เรารู้ว่า เราจะทำแผนที่ความคิดได้อย่างไร
และในแต่ละส่วนที่นำเสนอในที่นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการศึกษา ในการเรียนรู้ ในการเขียนบทความ ในการอ่าน ในการฟัง ในการสัมนา และการประชุม
ซึ่งหากได้มีการฝึกฝนจนชำนาญแล้ว เราจะพบว่า การทำแผนที่ความคิดจะเป็นประโยชน์แก่เรามาก
(รายละเอียด โปรดคลิกที่ banner)

การวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่องของอำนาจ ควรจะละเว้นการตั้งคำถามที่ยุ่งยากดั่งเขาวงกต
ซึ่งไม่สามารถที่จะตอบคำถามได้เสีย: เช่น ใครคือผู้ที่มีอำนาจ และเขาคิดอะไรอยู่ ?
อะไรคือเป้าหมายของคนที่ครอบครองอำนาจ ?

ด้วยเหตุนี้ ขอให้เราอย่าถามว่า ทำไมผู้คนเหล่านั้นต้องการที่จะครอบงำ, พวกเขาแสวงหาอะไร,
อะไรคือแผนการทั้งหมดของพวกเขา. ขอให้เรามาตั้งคำถามกันว่า
สิ่งต่างๆมันทำงานอย่างไรในเรื่องเกี่ยวกับการปราบปรามหรือการทำให้เชื่อฟัง
ขอให้เรามาดูถึงความต่อเนื่องเหล่านั้น และกระบวนการต่างๆที่ไม่มีการขัดจังหวะ ซึ่งได้มาควบคุมร่างกายของเรา, ปกครองหรือกำกับอากัปกริยาของเรา,
รวมทั้งมาบงการพฤติกรรมของเรา เป็นต้น
สมเกียรติ ตั้งนโม / มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน