มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ


Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ

สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิก member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard
ข้างล่างของบทความชิ้นนี้

หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
midnight2545(at)yahoo.com
midnightuniv(at)yahoo.com

 

 

Postmodernism and Politics
บทความแปล-มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ภาพประกอบดัดแปลง จากหนังสือออกแบบของ Philippe Starck ชื่อหนังสือ Starck จากภาพ Hot Betarr 1990-1991ภาพ portrait ชื่อ Vertigo 1996 และภาพ portrait
นำมาจาก website โฆษณาของ Yahoo mail นำมาสังเคราะห์ในภาพเดียวกัน
R
random
release date
010346

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 243
ลัทธิหลังสมัยใหม่และพื้นที่ทางการเมือง
Postmodernism and Politics

Iain Hamilton Grant

เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม

(ความยาวประมาณ 21 หน้ากระดาษ A4)

จากต้นฉบับหนังสือ (หน้า 28-40)
Critical Dictionary of Postmodern Thought : Edited by Stuart Sim, Routedge, New York, 1999.

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา

234. การวิพากษ์วัฒนธรรมมวลชน ของ นิทเช(เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม)
235. อุดมศึกษาในทัศนะของนิธิ (บทสัมภาษณ์ ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์)
236. บทสัมภาษณ์ : โครงการวิจัยการศึกษาทางเลือก (สัมภาษณ์ สุชาดา จักรพิสุทธิ์)
237. ทลายความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องการทำแท้ง (กฤตยา อาชวนิจกุล มหาวิทยาลัยมหิดล)
238. มหาวิทยาลัยในอินเดียเชิงเปรียบเทียบ (สัมภาษณ์ ดร.ประมวล เพ็งจันทร)์

239. การสำรวจเชิงอนาธิปไตย กรณีเขื่อนปากมูล (จัดโดย มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
)
240. ความรู้ที่ขาดหายไปในกระบวนการตัดสินในของรัฐ กรณีเขื่อนปากมูล (จัดโดย มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
241. บนเส้นทางของความน่าเกลียด : ว่าด้วยเรื่องของสุนทรียศาสตร์ (เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม)

242. มหาวิทยาลัยไทยโดนไวรัส (งานวิจัยสาเหตุและปัญหามหาวิทยาลัยฉบับสังเคราะห์) สมเกียรติ ตั้งนโม
243. ลัทธิหลังสมัยใหม่และพื้นที่ทางการเมือง (Postmodernism and Politics)
244.
ปฏิรูปมหาวิทยาลัยและโรงพยาบาล (สุลักษณ์ ศิวรักษ์ - ถอดเทปโดย วรพจน์ พิทักษ์)

 

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา I webboard I ประวัติ ม.เที่ยงคืน

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

สำหรับสมาชิกที่ต้องการ download ข้อมูล อาจใช้วิธีการง่ายๆดังต่อไปนี้

1. ให้ทำ hyper text ข้อมูลทั้งหมด
2. copy ข้อมูลด้วยคำสั่ง Ctrl + C
3. เปิด word ขึ้นมา (microsoft-word หรือ word pad)
4. Paste โดยใช้คำสั่ง Ctrl + V
จะได้ข้อมูลมา ซึ่งย่อหน้าเหมือนกับต้นฉบับทุกประการ
(กรณีตัวหนังสือสีจาง ให้เปลี่ยนสีเป็นสีเข้มในโปรแกรม Microsoft-word)

 

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 243 หัวเรื่อง การเมืองในยุคหลังสมัยใหม่ - บทความแปลและเรียบเรียงสำหรับสมาชิกและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

แน่นอน ความหวังต่างๆเกี่ยวกับการจัดการเรื่องราวที่มีอยู่อย่างมากมายในยุคสมัยของเรา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ"ลัทธิเผ่าพันธุ์แต่ละท้องถิ่น"(racism), ความน่าหวาดหวั่นเกี่ยวกับความสลับซับซ้อน ซึ่งมากับอุตสาหกรรมบันเทิงที่รุนแรงแบบทหาร, แรงกระตุ้นทางเศรษฐกิจที่เด่นชัด, คอนโซลคาวบอย(console-cowboy)ที่ใช้ในการขจัดเป้าหมาย ด้วยอาวุธทำร้ายล้างอันรุนแรงและเกินความจำเป็นของสงครามอ่าวเปอร์เชีย(Gulf War), ทั้งหมดที่ผ่านมาดูเหมือนว่า มันไม่ได้มีการนำเสนอทางเลือกใหม่ใดๆขึ้นมาเลย" (บางส่วนจากบทความ)

เพราะฉะนั้น อันนี้คือประวัติศาสตร์ของเงื่อนไขหรือสภาพการณ์ของหลังสมัยใหม่: ซึ่งในด้านหนึ่งนั้น มันคือประวัติศาสตร์เกี่ยวกับวิวัฒนาการของลัทธิทุนนิยมที่เคลื่อนไปสู่"ทุนเทคโน"
(techno-capital), ส่วนในอีกด้านหนึ่งนั้น มันคือประวัติศาสตร์ของการสิ้นสุดลงของวาทกรรมหลักของลัทธิมาร์กซ์

QUOTATION

การเปิดให้มีการทดลองมันจะเป็นการสร้างกฎเกณฑ์ใหม่ๆจากข้างล่างขึ้นไปสู่ข้างบนแทน. อันนี้หากเรากวาดตาดูรอบๆ จะพบเสียงประสานที่มาสอดรับกับเรื่องนี้ โดยที่วิธีการทางด้านวิทยาศาสตร์ได้ใช้ภาษาเกี่ยวกับการทดลองเป็นเครื่องมือในการค้นหาและค้นพบสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอันนี้ถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งต่อความเข้าใจแง่มุมต่างๆของลัทธิหลังสมัยใหม่ แต่บ่อยครั้งเรามักจะมองข้ามเรื่องพวกนี้ไป

ดังที่ Lyotard กล่าว, "หลัง"ของ"ลัทธิหลังสมัยใหม่"ไม่ต้องการสัญญานที่ว่ามันได้มาถึง ณ จุดจบ, แต่มันเป็นการได้มา ณ จุดเริ่มต้นของความเป็นสมัยใหม่. แล้วอะไรคือความเป็นสมัยใหม่อันใหม่ ที่เริ่มปรากฎตัวขึ้นมาจากการเมืองหลังสมัยใหม่อันนี้ ???
(บางส่วนจากบทความ) สนใจรายละเอียด คลิกที่นี่

H
next
NEXT