การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพลังในการขับเคลื่อนของสังคม
และความสัมพันธ์ใหม่ ระหว่าง"ภาครัฐ"กับ"ชุมชน"
home
ภาพถ่ายโดย
Marc Riboud จากหนังสือ
Angkor the Serenity of buddhism น. 87
บทความนี้ยาวประมาณ
15 หน้ากระดาษ A4
บทความใหม่
เดือนสิงหาคม 2544 : มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
หากนักศึกษ สมาชิก และผู้สนใจทุกท่าน ประสบปัญหาภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลดขนาดของ
font ลงมา จะแก้ปัญหาได้
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ
Website
ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
เป็นบริการทางไกลทางวิชาการให้กับนักศึกษา
สมาชิก และผู้สนใจทุกท่าน
ที่สนใจในการศึกษาโดยไม่จำกัดคุณวุฒิทางการศึกษา
เพราะเราเชื่อว่า มหาวิทยาลัยควรเป็นแหล่งที่ให้ความรู้
สำหรับคนทุกคนได้ และมีเสรีภาพในการเรียนรู้
ตามที่ตนปรารถนา
สนใจสมัครเป็นสมาชิกโดยไม่มีสิทธิพิเศษใดๆเหนือคนอื่น
กรุณาคลิกที่ปุ่ม member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความทั้งหมดที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ปุ่ม contents page
ส่วนผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็นหรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard
ขอขอบคุณทุกท่านที่ใฝ่ในการศึกษา และช่วยบอกต่อสาระความรู้จากที่นี่ไปบอกเพื่อน
Remote
Educational
Service
Midnight
University
midnightuniv(at)yahoo.com
Warm
Welcome to Midnight's Webpage
ชุมชนโบราณ
มีระบบในการจัดการโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญของชุมชนร่วมกัน เช่น การจัดการน้ำ การป้องกันชุมชนหมู่บ้านจากภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆ
การร่วมกันในการหาอาหาร เช่น การล่าสัตว์ การหาของป่า หรือการช่วยกันในการเพาะปลูก
ซึ่งสิ่งเหล่านี้น่าจะเป็นรากฐานที่สำคัญประการหนึ่ง ของระบบกรรมสิทธิ์รวม ซึ่งมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละพื้นที่
ในแต่ละวัฒนธรรม
ในภาคเหนือ ซึ่งเรียกระบบในการจัดการของส่วนรวมว่าเป็น "ของหน้าหมู่"
ในทางภาคอีสาน สิ่งที่ยอมรับกันว่าไม่มีใครเป็นเจ้าของ ผู้หนึ่งผู้ใดสามารถที่จะเข้าไปใช้ประโยชน์ได้
เรียกว่า ป่าทุ่งป่าทาม เป็นต้น.
สิทธิชุมชน
ปัญหา และพัฒนาการทางความคิด
ผู้เขียน :ไพสิฐ พาณิชย์กุล
สาขานิติศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
สำหรับบทความชิ้นนี้
เป็นการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของ"สิทธิชุมชน" ซึ่งในหลายปีที่ผ่านมา ประเด็นดังกล่าวได้เข้ามามีบทบาทในสังคมไทยอย่างมาก
ทั้งทางด้านสังคม การเมือง และโดยเฉพาะด้านกฎหมาย ที่ได้นำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ในหลายระดับ
ตั้งแต่ระดับล่างขึ้นมาจนกระทบถึงระดับโครงสร้าง
เพื่อให้เห็นภาพชัด อาจารย์ไพสิฐ
จึงได้ให้ภาพเกี่ยวกับเรื่องของ"สิทธิ"ที่มีอยู่ในสังคมไทยนับแต่อดีต จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมมาตามลำดับ
ซึ่งจากโครงสร้างและอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงไปทางสังคมนี้ ได้ส่งผลกระทบต่อประเด็นเรื่อง"สิทธิ"ที่เคยยึดถือกันมา
ผ่านรูปแบบจารีตที่มีอยู่ในชุมชน และพร้อมทั้งมีข้อเสนอเกี่ยวกับการปรับปรุงระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
เพื่อเอื้ออำนวยต่อบทบาทใหม่ๆเหล่านี้ ที่มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญปัจจุบัน
เพื่อให้เห็นภาพชัดของบทความที่จะอ่านต่อไป
จึงขอให้ภาพกว้างของระบบคิดที่นำเสนอดังต่อไปนี้
บทนำ
ตำแหน่งแห่งที่ของ "สิทธิ" ในสังคมไทย
ก. นัยยะของ "สิทธิ"กับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ก.1 ชุมชนในสังคมไทยสมัยโบราณ
ก.1.1ความเป็นปัจเจกไม่ได้เป็นตัวตั้งของโลกทัศน์ในการจัดความสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆในชุมชน
ก.1.2 ชุมชนโบราณมีระบบในการจัดการโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญของชุมชนร่วมกัน
ก.2 ชุมชนที่เปลี่ยนไปสู่ความเป็นชุมชนเมือง
ก.2.1 การเปลี่ยนแปลงชุมชนหมู่บ้าน ไปสู่ความเป็นชุมชนเมืองในระยะก่อนการเกิดรัฐชาติ
ก.2.2 การเปลี่ยนแปลงชุมชนหมู่บ้าน ไปสู่ความเป็นชุมชนเมืองในระยะหลังการเกิดรัฐชาติ
ก.2.2.1. การเปลี่ยนไปสู่ความทันสมัย
ก.2.2.2.การเปลี่ยนไปสู่ระเบียบบริหารแบบราชการ
ก.2.2.3 การเปลี่ยนไปสู่ความเป็นอุตสาหกรรม
ก.3 สรุปภาพรวมนัยยะของ
"สิทธิ"กับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม
ข.บทสังเคราะห์ว่าด้วยลักษณะสำคัญๆของ"สิทธิชุมชน"บนประสบการณ์ของการต่อสู้ของชุมชน
ค.ก้าวย่างต่อไปของพัฒนาการ"สิทธิชุมชน"ในสังคมไทย
ทั้งหมดของภาพกว้างที่ให้
และข้อเสนอเหล่านี้ อาจเป็นก้าวย่างหนึ่งที่จะทำให้ปัญหาความไม่เข้าใจเกี่ยวกับเรื่อง"สิทธิชุมชน"เป็นที่ชัดเจนขึ้น
รวมไปถึงพัฒนาการต่อไปเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว เพื่อให้ประเด็นนี้เกิดความกลมกลืนในสังคม
เป็นที่ยอมรับตามที่กฎหมายสูงสุดระบุไว้
บรรณาธิการ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
คำโปรย
บทบัญญัติของกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศต่างๆ
ในตะวันตก มักจะมีข้อความที่บัญญัติไว้ในลักษณะที่ว่า
"ทุกคนเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย"
ซึ่งเป็นการวางหลักการในทางกฎหมาย (de juris)
แต่ในความเป็นจริง (de facto) แล้ว จะพบว่า
ทุกคนไม่มีใครเท่าเทียมกัน แต่เป็นความพยายาม ที่รัฐ
จะต้องให้โอกาสแก่ทุกๆคน ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว จะมี
บทบัญญัติในทางกฎหมาย ที่จะมากำหนดในรายละเอียด
ไพสิฐ พาณิชย์กุล
ในขณะที่มีผู้คนจากหลายฝ่ายออกมาพูดถึงเรื่องชาตินิยม
อ.เกษียร ก็ได้ออกมาพูดเรื่องนี้เช่นเดียวกัน และยังได้แจกแจงให้เราเห็นถึงพัฒนาการของการแสชาตินิยมในสังคมไทยตั้งแต่ในอดีต
พร้อมทั้งโยงไปถึงเรื่องของอุดมการณ์ชาตนิยมิในยุคโลกาภิวัตน์ที่ผ่านจอภาพยนตร์
ซึ่งทำให้อุดมการณ์ดังกล่าวกลายไปเป็นสินค้า
นอกจากนี้ ยังรู้สึกเห็นอกเห็นใจเยาวชนไทยที่ขาดสำนึกในเรื่องดังกล่าว ท่ามกลางสื่อที่ไร้สาระในสังคมที่ทำให้เยาวชนไทยไร้ความคิด
(สนใจรายละเอียด โปรดคลิดเข้าไปอ่านได้ที่ banner)
นิติบัญญัติจากหมู่บ้าน
ไม่ได้เป็นการมาพูดว่า สังคมไทยในอดีตมีกฎของหมู่บ้านอยู่แล้ว โดยผ่านจารีต -
วัฒนธรรมการถือผี แต่เป็นการสนทนาถึงความเปลี่ยนแปลงไปของสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
ที่ผลักดันให้ภาคประชาชนเข้มแข็งขึ้น และชุมชนซึ่งมีกฎของตนเองอยู่แล้ว
จะขานรับต่อการเปลี่ยนแปลงนี้ในสังคมร่วมสมัยอย่างไร และอะไรที่เราอาจนำเอาจารีตมาใช้ได้
และอะไรที่ไม่สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงไปของสังคม ซึ่งควรปรับปรุง
รวมไปถึงประเด็นที่เกี่ยวเนื่องอย่างกว้างขวางและน่าสนใจ
(สนใจคลิกไปอ่านได้ที่ banner)