บทความลำดับที่ 167

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เรื่อง "อารยธรรมและศัตรูของอเมริกัน" แปลโดย สมเกียรติ ตั้งนโม
จากต้นฉบับเรื่อง
American Civilization and Its Enemies

 

N
next
ต้นฉบับของบทความชิ้นนี้ เขียนโดยของ Baabar Batbayar
ผลงานภาพประกอบดัดแปลง ของนักออกแบบภาพปก Robert Grossman ตัดจากปกนิตยสาร National Lampoon และผลงานของศิลปิน Grant Wood ชื่อภาพ American Gothic 1930 สีน้ำมันบนไม้กระดาน

อดีตประธานาธิบดี Richard Nixon ครั้งหนึ่ง เขาเคยบันทึกเอาไว้ว่า ผู้คนจากทุกมุมโลกออกมาจากบ้านเกิดของตนและไปยังอเมริกา, แต่ไม่เคยมีใครละทิ้งไปจากประเทศนี้.

ทุกๆโอกาส บรรดาชาวยุโรปทั้งหลายชอบสังเกตว่า คนอเมริกันต่างจากพวกตนอย่างไร. คนอเมริกันดื่มชาใส่น้ำแข็ง, มีนิสัยที่ชอบเอาเท้าวางพาดไว้บนโต๊ะ, ชอบเข้าสู่รายละเอียดของเนื้อหา โดยไม่มีการเกริ่นนำในการพูดคุยการงานธุรกิจ, ไม่มีการแบ่งแยกลำดับชั้นสูงต่ำ, ไม่เคยอาย, พวกเขาเป็นคนที่ชอบบ้านหลังใหญ่และรถยนต์คันใหญ่ๆ, พูดจาวางโต, แต่บางครั้งไร้เดียงสาเอามากๆ, ไม่เคยมีความรู้เกี่ยวกับประเทศอื่นๆเลย แต่ก็ปฏิบัติได้ดีพอใช้ ที่จะรู้ไดโดยหัวใจในรายละเอียดต่างๆถึงกฎระเบียบต่างๆของชาวต่างประเทศ, กฎหมายและรัฐบาล เมื่อต้องเข้าไปเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้คนเหล่านั้น และ มักจะกลายเป็นหัวข้อหนึ่งของความสนุกสนานเสมอ, คนอเมริกันมีความภาคภูมิ และให้ความเคารพต่อคนยุโรป (ตัดมาจากเนื้อหาบทความ)

QUOTATION
release date
300345
-1700
-1650
-1600
บทความชิ้นนี้ยาวประมาณ 13 หน้ากระดาษ A4 : หากนักศึกษา สมาชิก ประสบปัญหาภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลดขนาดของ font ลงมาจะแก้ปัญหาได้
บทความที่เผยแพร่บน web ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ สำหรับผู้ที่นำไปใช้ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
W
board

สมชาย ปรีชาศิลปกุล : สาขานิติศาสตร์ มช.

ทำไมเราจึงต้องขออนุญาตด้วย ที่นี่คือพื้นดินของเรา ผู้คนของเราอาศัยกันอยู่ ณ ที่นี้ก่อน Tanjung Malim ได้รับการเปิด. เรายังใช้รถเทียมม้ากันอยู่ในเวลานั้น เราสร้างบ้านของเราขึ้นมาบนผืนดินแห่งนี้
และเพาะปลูกต้นยางเพื่อลูกหลานของพวกเรา มันเป็นเรื่องที่ไม่มีเหตุผลเอาเลย สำหรับตอนนี้
ที่มีคนมาบอกกับเราว่า เราได้ครอบครองผืนดินอย่างผิดกฎหมาย

"Why do we need to ask permission for? This is our land. Our people here even before Tanjung Malim was opened. Horse-carts were still being used then. We've built our houses here, and cultivated rubber for generations. It makes no sense now telling us that we are occupying the land illegally."
Robert Knox Dentan <1997: 68> Malaysia and the Original People
(สนใจบทความใหม่นี้ คลิกที่ banner)

สตรีนิยมได้เติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 40 ปีหลังของศตวรรษที่ 20 ซึ่งนำไปสู่การศึกษาเกี่ยวกับผู้หญิงในมิติต่าง ๆ โดยให้ความสำคัญในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ และได้ใช้ความคิดรวบยอดในเรื่องความเป็นเพศ
(Gender) เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ที่สำคัญ
สนใจรายละเอียดกรุณาคลิกที่ banner

เรื่องแจ้งเพื่อทราบเกี่ยวกับกระดานข่าว (webboard)
เนื่องจากเจ้าของพื้นที่ ซึ่งทางมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนไปขอใช้เกิดขัดข้องชั่วคราว จึงขอให้นักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจทุกท่าน แสดงความคิดเห็นผ่าน webboard สำรอง โดยคลิกที่ webboard

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา I webboard

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

 

ประวัติเกี่ยวกับผู้เขียน Baabar Batbayar

Baabar Batbayar เป็นรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง เขาเป็นหนึ่งในนักการเมืองที่มีชื่อเสียงของมองโกเลีย
รู้จักกันในนาม Baabar ซึ่งเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งพรรคสังคมประชาธิปไตยมองโกเลีย.
เขามีบทบาทสำคัญในขบวนการเคลื่อนไหวประชาธิปไตยในช่วงต้นทศวรรษที่ 1990s ได้ร่ำเรียนมาทาง Bio-Physics
ในประทศมองโกเลียและโปแลนด์ และได้ทำงานในฐานะนักวิจัยทางวิทยาศาสตร์จากปี 1981-1991
เขายังเป็นนักหนังสือพิมพ์อิสระนับจากปี 1994 จนกระทั่งได้รับการเลือกตั้งเข้าสู่รัฐสภาในปี 1996 ในการเลือกตั้งทั่วไป

ประวัติผลงาน Baabar Batbayar เป็นที่รู้จักในฐานะนักเขียนหนังสือเรื่อง Samizdat
ซึ่งเขาเริ่มต้นลงมือในช่วงทศวรรษที่ 1980s.
เป็นครั้งแรกในการวิพากษ์เกี่ยวกับสังคมนิยมจากภายในกรอบความคิดของนักสังคมนิยม
ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1980s เขาเริ่มตั้งคำถามลัทธิสังคมนิยมในตัวมันเอง.
เขายังคงสร้างงานเขียนของเขาต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 1990s
ส่วนใหญ่แล้วเป็นการแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับสังคมมองโกเลียน
Translated by Somkiat Tangnamo (Faculty of Finearts Chiangmai University)

หากเราสำรวจและสังเกตบทความต่าง ๆ ที่นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับจริยธรรมในการวิจัยนั้น
เรื่องของ "สิทธิ, ความซื่อสัตย์ , ความรับผิดชอบ" มักถือเป็นกรอบหรือเกณฑ์หลักของการวินิจฉัยระดับจริยธรรมในการวิจัย
ทั้งก่อน - ระหว่าง - หลังการวิจัย โดยครอบคลุมทั้งผู้วิจัย ผู้ถูกวิจัย ผู้ใช้งานวิจัย ผู้ให้ทุนวิจัย ฯลฯ
แม้กรอบหรือเกณฑ์วินิจฉัยจะอยู่ใน ๓ ประเด็นดังกล่าวเป็นส่วนใหญ่
แต่กระนั้นก็ยังหาข้อสรุปเดียวกันได้ยาก จึงยังมีประเด็นโต้แย้งอย่างหลากหลายในเรื่องจริยธรรม
และการวิจัยอยู่อย่างต่อเนื่อง ว่าอะไรผิดหรือไม่ผิดจริยธรรม
ผมอยากชี้ให้เห็นว่า การรวมศูนย์ที่ถูกสร้างขึ้นของระบบไฟฟ้า ซึ่งเกิดขึ้นมาในช่วงนโยบายการต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ มันได้สร้างอาณาจักรการผูกขาดของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตมายาวนานถึง 30 ปี แล้วธุริกจอันนี้มันมีมูลค่ามหาศาล ก็คือ
ปีหนึ่ง การไฟฟ้าจะมีรายได้จากการขายไฟฟ้ากว่าแสนล้านบาท การลงทุนของการไฟฟ้าในแต่ละปี
บางปีสูงถึง 5-6 หมื่นล้านบาท แต่ระยะหลังลดลงมาเหลือประมาณ 2 หมื่นล้านบาท
แล้วการไฟฟ้าได้เติบโตมีเจ้าหน้าที่ถึง 3 หมื่นกว่าคน
NEW
article
ร่วมเดินเท้าทางไกลกับพี่น้องสมัชชาคนจน ระยะทาง 5 กิโลเมตร วันที่ 26 เมษายน 2545
วันที่ 27-28 เมษายน 2545 สัมนาทางวิชาการ พบกับ ศรีศักร วัลลิโภดม, ชยันต์ วรรธนะภูต,ิ นิธิ เอียวศรีวงศ,์ บัณฑร อ่อนดำ, สนั่น ชูสกุล, ไพจิตร ศิลารักษ,์ อรุณ หวายคำ, สินี ช่วงฉ่ำ, อรุณ หวายคำ, แม่ปราณี โนนจันทร์ , หาญณรงค์ เยาวเลิศ, วิยุทธ์ จำรัสพันธ,ุ์ จุรินทร์ บุญมัธยัสถ์ , สนใจกรุณาติดต่อ สุชาดา 01 - 5685113
(รายละเอียดโครงการ กรุณาคลิกที่ banner)