บทความวิชาการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนบนไซเบอร์สเปซทุกเรื่องไม่สงวนลิขสิทธิ์ไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ









Free Documentation License
Copyleft : 2006, 2007, 2008
Everyone is permitted to copy and distribute verbatim
copies of this license
document,
but changing it is not allowed.
บทความลำดับที่ ๑๐๕๒ เผยแพร่ครั้งแรกบนเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ตั้งแต่วันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๙
28-10-2549



Anti - Coup d' atat
The Midnight University

เกี่ยวกับกรณีการปิดกั้นเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
การต่อสู้เพื่อให้ความจริงพูดได้ กรณีการบล็อคเว็บไซต์ ม.เที่ยงคืน
(รายงานประชาชนฉบับที่ ๔)

(รายชื่อผู้ไม่เห็นด้วยกับการปิดกั้นเว็บไซต์)

กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
รวบรวมรายชื่อจากจดหมายอิเล็คทรอนิค

รายชื่อที่ปรากฎบนหน้าเว็บเพจนี้ เป็นการรวบรวมจากจดหมายอิเล็คทรอนิค
ซึ่งส่งมาถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เพื่อร่วมลงชื่อคัดค้านและ
แสดงความไม่เห็นด้วยกับการที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ทำการปิดกั้นการให้บริการทางวิชาการเว็บไซต์ ม.เที่ยงคืน
ตั้งแต่เวลา ๑๙.๐๐ น ของวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๙
รายชื่อที่รวบรวมได้นี้ ส่งมาจากเพื่อนนักวิชาการและเพื่อนสื่อมวลชนในประเทศและต่างประเทศ
โดยเฉพาะในต่างประเทศนั้นครอบคลุมเกือบทุกทวีป
ตั้งแต่ยุโรป อเมริกา ลาตินอเมริกา แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย

midnightuniv(at)yahoo.com


(บทความเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา)
ข้อความที่ปรากฏบนเว็บเพจนี้ ได้มีการแก้ไขและตัดแต่งไปจากต้นฉบับบางส่วน
เพื่อความเหมาะสมเป็นการเฉพาะสำหรับเว็บไซต์แห่งนี้

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 1052
เผยแพร่บนเว็บไซต์นี้ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๙
(บทความทั้งหมดยาวประมาณ 23.2 หน้ากระดาษ A4)

 

การต่อสู้เพื่อให้ความจริงพูดได้ กรณีการบล็อคเว็บไซต์ ม.เที่ยงคืน (รายงานประชาชนฉบับที่ ๔)
(รายชื่อฟู้ไม่เห็นด้วยกับการปิดกั้นเว็บไซต์)

กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน รวบรวมจากจดหมายอิเล็คทรอนิค


ความนำ
ภายหลังจากที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้มีการปิดกั้นเว็บไซต์ ม.เที่ยงคืน เมื่อเวลา ๑๙.๐๐ น วันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๙ เว็บมาสเตอร์ ม.เที่ยงคืน ได้ทำจดหมายเปิดผนึกแจ้งข่าวไปยังเพื่อนนักวิชาการและเพื่อนสื่อมวลชน เพื่อทำการรณรงค์คัดค้านการปิดกั้นดังกล่าว โดยตั้งเป้าให้ได้รายชื่อประมาณ ๑๐๐๐ รายชื่อ เพื่อมาใช้ยืนยันถึงการสูญเสียพื้นที่สาธารณะทางวิชาการด้วยการใช้อำนาจปกครองโดยมิชอบ และเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกของกระทรวง ICTปรากฏว่า เพียงชั่วระยะเวลาไม่นานนัก รายชื่อของเพื่อนนักวิชาการ เพื่อนสื่อมวลชน นักศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรี โท เอก และสถาบันทางวิชาการ, องค์กรวิชาชีพ, องค์กรสื่อ, องค์กรภาคประชาชนต่างๆ ฯลฯ ได้ร่วมส่งรายชื่อคัดค้านเข้ามาเป็นจำนวนมาก (กล่าวได้ว่า เพียง ๗๒ ชั่วโมงแรก ม.เที่ยงคืนก็ได้รับรายชื่อแล้วเกือบ ๑๐๐๐ รายชื่อ)

สำหรับรายชื่อที่รวบรวมได้นี้ ส่งมาจากเพื่อนนักวิชาการ เพื่อนสื่อมวลชน สถาบันการศึกษา องค์กรวิชาชีพ และอื่นๆ ทั้งจากภายในประเทศและต่างประเทศ
โดยเฉพาะในต่างประเทศนั้นครอบคลุมเกือบทุกทวีป ตั้งแต่ยุโรป อเมริกา ลาตินอเมริกา แอฟริกา เอเชีย รวมถึงออสเตรเลีย ซึ่งนอกจากรายชื่อที่ร่วมกันส่งมาเพื่อการรณงค์ครั้งนี้แล้ว ยังมีความคิดเห็นที่หลากหลาย ข้อความให้กำลังใจ และการพยายามหาทางช่วยเหลือในหลายๆ ทาง ไม่ว่าจะเป็นในรูปของการเสนอให้ใช้พื้นที่ใหม่ฟรีจำนวนมาก ทั้งในยุโรป สหรัฐอเมริกา และในลาตินอเมริกา อีกทั้งมีบางรายยังแจ้งความประสงค์บริจาคเงินเพื่อเป็นทุนในการต่อสู้ทางกฎหมายด้วย
(หมายเหตุ : นอกจากนี้เพื่อนบางคนจากสวีเดนยังเสนอให้ลี้ภัยไปทำเว็บไซตที่สวีเดน ส่วนรายที่มาจากเม็กซิโกโดยใช้ชื่อว่า... เป็นตัวแทนของขบวนการซาปาติสต้าได้เสนอพื้นที่ให้บริการฟรีที่เม็กซิโกและเท็กซัส ซึ่งเป็นเรื่องที่คาดไม่ถึงทีเดียวว่า ข่าวของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนถูกปิดกั้นจะกระจายไปทั่ว และมีผลตอบรับที่แตกต่างกันไป)

หลายองค์กรได้ทำ pettition online ให้ เพื่อให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยทั้งหลาย ทั้งในฐานะนักวิชาการ นักสื่อสารมวลชน นิสิต นักศึกษา ประชาชน คนซึ่งประกอบอาชีพในทุกๆ ส่วน ให้มาลงชื่อคัดค้านแสดงความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวางได้สะดวกมากขึ้น อาทิ pettition online ของกลุ่ม FTA WATCH และ pettition online ของเพื่อนสื่อสารมวลชนฉบับภาษาอังกฤษ รวม ๒ แห่ง นอกจากนี้ยังรวมถึงความตั้งใจของนักวิชาการไทยในต่างประเทศที่พยายามจะทำอย่างเดียวกันมาแต่แรก และต้องยุติไปเพราะมีเพื่อนองค์กรอื่นได้ช่วยทำไปแล้ว

ยิ่งไปกว่านั้น เว็บไซต์ที่มีชื่อเสียงในประเทศหลายแห่ง อย่างเช่น ประชาไทออนไลน์, onopen, คนชายขอบ, โดยเฉพาะสองเว็บไซต์หลังได้สละพื้นที่หน้า home page ของตนเองให้เป็นเวลาหลายวันเพื่อรายงานเกี่ยวกับเรื่องนี้และแถลงการณ์ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนในช่วงที่เว็บไซต์ ม.เที่ยงคืนอยู่ในภาวะสุญญากาศ สำหรับประชาไทออนไลน์เองได้สละพื้นที่อันมีค่าโดยวางแบนเนอร์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนเอาไว้เป็นการชั่วคราว เพื่อเป็นช่องทางให้กับมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนชี้แจงเรื่องราวต่างๆ กับสมาชิก นักวิชาการและเพื่อนสื่อมวลชน เกี่ยวกับความคืบหน้าต่างๆ ในการต่อสู้เพื่อให้เว็บไซต์ ม.เที่ยงคืนไดคืนกลับมาให้บริการทางวิชาการอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเว็บมาสเตอร์ขอขอบพระคุณ เอา ไว้ ณ ที่นี้

นอกจากนี้ เรื่องเกี่ยวกับการปิดกั้นเว็บไซต ม.เที่ยงคืน ยังได้รับการให้ความสนใจอย่างดียิ่งจากเพื่อนสื่อมวลชน โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์หลายฉบับ วิทยุหลายสถานี และศูนย์ข่าวต่างๆ โดยรายงานเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง นับจากวันที่ ๓๐ กันยายนเป็นต้นมา เริ่มจากการเสนอข่าวเกี่ยวกับการปิดกั้นเว็บไซต์นี้โดยกระทรวง ICT, การรณรงค์เกี่ยวกับการระดมรายชื่อคัดค้าน, การออกแถลงข่าวของ ม.เที่ยงคืน, การยื่นคำร้องถึงคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, การยื่นคำฟ้องและการขอความคุ้มครองชั่วคราวถึงศาลปกครองกลาง, จนกระทั่งศาลปกครองได้มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว อันเนื่องมาจากการใช้อำนาจปกครองโดยมิชอบของหน่วยราชการนี้

กิจกรรมทั้งหมดดังที่นำเสนอบนเว็บไซต์ ม.เที่ยงคืนมาโดยลำดับ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นตัวอย่างของการต่อสู้สำหรับคนเล็กๆ และหน่วยงานต่างๆ ของเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนทั้งหลายนำไปใช้เป็นกรณีศึกษาและประยุกต์ให้เข้ากับประสบการณ์ของตนเอง ถึงการต่อสู้ภายใต้กรอบของกฎหมาย ที่ประชาชนไทยโดยทั่วไปต่างให้ความเคารพโดยสุจริต เพื่อยืนยันถึงสิทธิเสรีภาพและการแสดงออกอันเป็นธรรมชาติของระบอบประชาธิปไตย และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เหตุการณ์เหล่านี้จะไม่เกิดขึ้นมาอีกเมื่อสังคมได้รับการวางบรรทัดฐานสำหรับอนาคตแล้ว

ส่วนรายชื่อทั้งหมดข้างล่างนี้ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนขอขอบพระคุณ ณ ที่นี้ สำหรับความช่วยเหลือของเพื่อนนักวิชาการ เพื่อนสื่อมวลชน และองค์กรพันธมิตรต่างๆ อย่างดียิ่ง ซึ่งต่างช่วยกันระดมมาจากแรงกายและแรงใจอย่างไม่รู้เหน็ดเหนื่อย

(หมายเหตุ : บางรายชื่อ อาจมีการพิมพ์ตกหล่นหรือการพิมพ์ซ้ำ อันเนื่องมาจากเหตุสุดวิสัยโดยมิได้มีเจตนา สำหรับผู้ส่งรายชื่อมาแล้ว หากไม่ปรากฏชื่อของตนเองบนเว็บเพจนี้ ท่านสามารถแจ้งชื่อเพิ่มเติม หรือแจ้งลบชื่อซ้ำได้ที่ [email protected])

จากวิทยาลัยวันศุกร์ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : กรณีปิด www.midnightuniv.org
วันที่ 18 ต.ค. 2549 16:44:30 น.
(หมายเหตุ : บทความนี้เพิ่งนำมาเสนอบนเว็บไซต์วันที่ 22 เมษายน 2551)

กรณีเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนได้ถูกปิดกั้นการเข้าถึง ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน 2549 ที่ผ่านมานั้น มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้

ก่อนอื่น จำเป็นต้องพิจารณาถึงสถานะที่แท้จริงของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ในการดำรงอยู่และปรากฏตัวตนต่อสาธารณะ โดยหากจะกล่าวกันในด้านสถานะแล้ว จะต้องมองไปที่บทบาทหลักๆ ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ซึ่งพบว่ามหาวิทยาลัยเที่ยงคืนมีบทบาทเด่นๆ สามด้านด้วยกัน คือ ด้านที่เป็นหน่วยทางวิชาการ ด้านที่เป็นหน่วยเคลื่อนไหวทางสังคม และด้านที่เป็นหน่วยสื่อมวลชน. สถานะทั้งสามด้านของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนนี้ มีความโดดเด่นไม่แพ้กัน มีความเกี่ยวเนื่อง ส่งผ่านและหนุนเสริมแก่กันและกัน โดยทั้งสามด้านนี้อาศัยการปรากฏตัวต่อสาธารณะผ่านเว็บไซด์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

ดังนั้น เมื่อเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนถูกปิดกั้น สถานะทั้งสามด้านจึงถูกละเมิดอย่างรุนแรง

1. ในสถานะหน่วยวิชาการ
แม้ว่ามหาวิทยาลัยเที่ยงคืน จะไม่ใช่มหาวิทยาลัยในความหมายของทางราชการ แต่ในทางปฏิบัติ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนมีสถานะเป็นหน่วยทางวิชาการที่ชัดเจนและเข้มแข็ง เนื่องจากเป็นที่ซึ่งบรรดานักวิชาการได้เข้าไปร่วมกันถกแถลง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทางวิชาการ เป็นที่ซึ่งผู้สนใจในเนื้อหาวิชาความรู้ต่างๆ โดยเฉพาะในด้านที่เกี่ยวกับประเด็นทางสังคม ได้เข้าไปร่วมเรียนรู้ ค้นหาข้อมูล เป็นเหมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ ที่รวมเนื้อหาวิชาการสมัยใหม่ทางสังคมไว้มากมาย และมีเพิ่มเติมอยู่เสมอ นักวิชาการและอาจารย์มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ได้ใช้ประโยชน์จากมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน โดยได้นำเนื้อหาวิชาการที่มีอยู่ ไปประกอบในการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง

การเป็นหน่วยทางวิชาการที่มีคุณค่าของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนนั้น ควรที่จะได้รับการเคารพ ยอมรับ และปกป้อง
เพราะฉะนั้น การปิดเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน จึงเป็นการละเมิดสถานะความเป็นหน่วยวิชาการของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนอย่างร้ายแรง โดยควรได้รับการตีความและประเมินผลกระทบไม่ต่างไปจากการสั่งปิดสถานศึกษา และห้องสมุดสาธารณะ

2. ในสถานะหน่วยกิจกรรมทางสังคม
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เป็นที่รวมของทั้งนักวิชาการที่สนใจในปัญหาสังคม และของนักกิจกรรมทางสังคมจำนวนมาก ซึ่งแต่ละคนได้นำเอาข้อมูล เรื่องราวปัญหาสังคมต่างๆ มาเผยแพร่ แลกเปลี่ยนแก่กัน นำไปสู่การลงมือปฏิบัติ หรือกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือเพื่อเรียนรู้ปัญหาให้ถ่องแท้ยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างที่ชัดเจนในเรื่องนี้ ก็คือ กรณีปัญหาความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ได้เอาใจใส่เก็บรวบรวมข้อมูลไว้เป็นจำนวนมาก ขณะเดียวกันกลุ่มนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ก็รวมตัวกันเพื่อครุ่นคิดหาทางแก้ปัญหาดังกล่าว ถึงขนาดมีการลงพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้อย่างต่อเนื่อง

บทบาทอันเข้มแข็งของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ในฐานะหน่วยกิจกรรมทางสังคม สมควรได้รับการชื่นชมยินดี จากส่วนต่างๆ ของสังคม การปิดเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน จึงเท่ากับเป็นการสกัดกั้นการทำงานเพื่อสังคมของกลุ่มนักวิชาการ และนักกิจกรรมทางสังคมต่างๆ ทำให้สังคมเสียโอกาสที่ควรจะได้รับจากมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

3. ในสถานะหน่วยสื่อมวลชน
เว็บไซด์ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ได้ทำหน้าที่ของสื่อมวลชนมาอย่างต่อเนื่อง แม้จะจัดเป็นสื่อทางเลือก แต่ก็ต้องนับว่าเป็นสื่อทางเลือกที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ เพราะเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ถือเป็นเว็บไซต์ที่เผยแพร่ข่าวสารทางด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และการศึกษา ที่ได้รับความนิยมมากเว็บไซต์หนึ่ง

นอกจากนี้ ในความเป็นสื่อทางเลือก ย่อมหมายถึงว่ามหาวิทยาลัยเที่ยงคืนเป็นสื่อที่ปราศจากการครอบงำจากทุนธุรกิจ และทุนการเมือง รวมถึงอำนาจผลประโยชน์อื่นๆ ทำให้ข่าวสารที่สื่อผ่านมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ย่อมนับได้ว่าเป็นข่าวสารที่ทำให้ผู้รับสารได้เข้าถึงความจริงของเรื่องราวและปัญหาต่างๆ ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ เป็นสื่อที่คนเล็กคนน้อยในสังคม ซึ่งปกติจะไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่ของสื่ออื่นๆ สามารถเข้าถึงสื่อนี้ได้

การปิดกั้นมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน จึงเป็นการคุกคามสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชน อันเป็นสิทธิที่จะต้องได้รับการยอมรับและการเคารพเช่นเดียวกับสื่อในสาขาอื่นๆ ซึ่งเท่าที่ปรากฏในปัจจุบันนั้น พบว่าขณะที่ยอมรับกันว่าสื่ออินเทอร์เน็ต เป็นสื่อที่ดีอย่างหนึ่ง แต่สิทธิของสื่ออินเทอร์เน็ต ยังแทบไม่ค่อยได้รับการยอมรับและได้รับความเคารพ เว็บไซต์ต่างๆ ถูกปิดกั้นได้อย่างง่ายดาย ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสถานะทางสังคมของสื่ออินเทอร์เน็ต ยังอยู่ในระดับต่ำมาก ไม่ได้รับการเคารพ และพร้อมที่จะถูกคุกคามทุกเมื่อ

การถูกคุกคามเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการรณรงค์ หรือเคลื่อนไหวให้มีการยอมรับและเคารพสิทธิเสรีภาพของสื่ออินเตอร์เน็ต ไม่น้อยไปกว่าสื่ออื่นๆ

รัฐบาลโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ต้องแสดงความรับผิดชอบต่อการถูกคุกคามของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน แม้ว่าการคุกคามครั้งนี้ อาจจะไม่ได้ดำเนินการอย่างเป็นทางการจากทางกระทรวงก็ตาม แต่ก็เป็นที่แน่ชัดว่าการคุกคามนี้มาจากเจ้าหน้าที่ของกระทรวง การแสดงออกเพียงแค่ว่า ไม่ได้เป็นคำสั่งของกระทวงถือว่ายังไม่เพียงพอ กระทรวงต้องแสดงออกอย่างชัดแจ้งว่า มีนโยบายที่จะเคารพสิทธิของสื่อเว็บไซต์เช่นเดียวกับสื่ออื่นๆ และต้องดำเนินการสืบสวนหาความจริงต่อการคุกคามเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนครั้งนี้ โดยถือเป็นความรับผิดชอบของทางกระทรวงเอง

การดำเนินการอย่างชัดแจ้ง ตรงไปตรงมาของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะเป็นการยืนยันในทางปฏิบัติว่า หลักการ 4 ป. ที่รัฐบาลประกาศใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินนั้น ได้นำมาปฏิบัติจริง ไม่ใช่พูดกันลอยๆ ทั้งโปร่งใส เป็นธรรม ประหยัด ประสิทธิภาพ ซึ่งในกรณีนี้ คือ ความโปร่งใสและความเป็นธรรม ซึ่งจะส่งผลดีต่อภาพพจน์ของรัฐบาลเอง แต่หากไม่ดำเนินการ หรือไม่รับผิดชอบใดๆ รัฐบาลนี้ก็ย่อมที่จะถูกตั้งข้อสงสัยว่า...
คำพูดเรื่องความโปร่งใส ความเป็นธรรม และการเคารพสิทธิเสรีภาพของประชาชนให้ยิ่งไปกว่ารัฐบาลของระบอบทักษิณนั้น เป็นลมปากที่เชื่อถือได้หรือไม่

หมายเหตุ : เก็บความจากเนื้อหาการแลกเปลี่ยนในเวที "วิทยาลัยวันศุกร์" ปีที่ 7 ครั้งที่ 337 วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม 2549 เรื่อง
"สิทธิในการสื่อสารกับการปิดเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน" โดย Administrator . เมื่อวันที่ 18 ต.ค. 2549 16:44:30 น.
http://www.fridaycollege.org/index.php?file=forum&obj=forum.forprint(cat_id=at-gen,id=503,name=print.friendly)

โดย Administrator . เมื่อวันที่ 18 ต.ค. 2549 16:44:30 น.

++++++++++++++++++++++++++

รายชื่อนักวิชาการและสื่อสารมวลชน ที่ไม่เห็นด้วยกับการปิดกั้นเว็บไซต์ ม.เที่ยงคืน
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ (รัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - ธนาพล อิ๋วสกุล (บรรณาธิการฟ้าเดียวกัน) - Thongchai Winichakul (Professor of History, University of Wisconsin-Madison) - ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน) - Ben Anderson (Professor Emeritus,Cornell University, USA.) - ศ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - ศ. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ - เพ็ญนภา หงษ์ทอง (จาก The Nation) - ชัชวาล ปุญปัน (คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - รศ.ดร.เกษียร เตชะพีระ (รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - สุภัตรา ภูมิประภาส (The Nation) - รศ.ดร.อรรถจักร สัตยานุรักษ์ (ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

รศ.ดร.อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม (หลักสูตรสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - ประสาท มีแต้ม (คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) - รศ.สายชล สัตยานุรักษ์ (ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - คุณสมชาย หอมลออ (นักกฎหมาย) - สุชาดา จักรพิสุทธิ์ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน) - ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ (ภาควิชาประวัติศาสตร์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

พระไพศาล วิสาโล (วัดป่ามหาวัน อ.แก้งคร้อ จ.ชัยภูมิ) - บรรณาธิการ เว็บไซต์"นอกกรอบ" ขอร่วมประณามและคัดค้านการบล็อคเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนด้วย - ดร.ประภาส ปิ่นตกแต่ง (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - สมชาย ปรีชาศิลปกุล (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - ไพสิฐ พาณิชย์กุล (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - นัทมน คงเจริญ (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - วิภู รุโจปการ (Steward Observatory, University of Arizona) - เกรียงศักดิ์ เชษฐ์พัฒนวนิช (ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

- ไพทูรย์ ธัญญา (นักเขียนซีไรท์, ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยสารคาม) - ชลนภา อนุกูล (นักวิชาการอิสระ กลุ่มจิตวิวัฒน์) - นายรอมฎอน ปันจอร์ (ผู้สื่อข่าว) - กุลภา วจนสาระ (นักวิชาการอิสระ) - ปิยบุตร แสงกนกกุล (นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / ขณะนี้พำนักอยู่ฝรั่งเศส และข้าเว็บไซต์ไม่ได้) - ปกศักดิ์ นิลอุบล (อดีตทูตสวีเดน - ปัจจุบันอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ (มหาวิทยาลัยฮาวาย สหรัฐอเมริกา) - ชำนาญ จันทร์เรือง (อาจารย์พิเศษทางกฎหมาย) - พิกุล อิทธิหิรัญวงศ์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้อำนวยการศูนย์สตรีศึกษา)

- ดร. กฤตยา อาชวนิจกุล (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล) - Jittat Fakcharoenphol - Angelo Embuldeniya - Caroline Hau (Assoc. Prof., Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University) - -Tamara Loos (Assoc. Prof., department of History, Cornell University) - กฤษฎา บุญชัย (นักศึกษาปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ มธ.) -วรินทรา ไกยูรวงศ์ (Fellow of Asian Public Intellectual program) - วราภรณ์ แช่มสนิท (สำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล) - Anna Tsing (Professor, Anthropology, University of California, Santa Cruz) - ศรีประภา เพชรมีศรี (อจ. ดร., สำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล)

- ปกป้อง จันวิทย์ (คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - ปิยบุตร แสงกนกกุล (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - สฤณี อาชวานันทกุล (นักวิชาการอิสระ) - ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา (บรรณาธิการ OPEN) - อานนท์ ชวาลาวัณย์ - Naruemon Thabchumpon (School of Politics and International Studies, University of Leeds, Leeds LS2 9JT, United Kingdom) - wichoksak ronnarong - วัลลภ แม่นยำ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน) - Robert B. Albritton - Wichai Wiwatcunoopakarn (คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

- รศ.ดร.วรเจตน์ ภาคีรัตน์ (คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์) -อภิชาต สถิตนิรามัย (ผศ. ดร., คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์) -ธร ปีติดล (อจ. คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์) -วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา (นักเขียน open online) - Nattaya Boonpakdee (Coordinator, Women's Health Advocacy Foundation) (WHAF) - Andrew Johnson PhD. (Candidate, Anthropology, Cornell University) - Daena Aki Funahashi PhD. (Candidate, Anthropology, Cornell University) - Dr. Patrick Jory (Regional Studies Program Walailak University) - วลัยภรณ์ ตันคิคณางกูร (นักวิชาการไทยในประเทศอังกฤษ) - Charles-H.Schulz. - Kevin Hewison (Professor, Department of Asian Studies, Carolina Asia CenterUniversity of North Carolina)

- สาลี อ๋องสมหวัง - Keiko Sei (ผู้ประสานงาน Documenta 12, South East Asia) - นิรมล มูนจินดา (นักวิชาการอิสระ) - Danupon Nanongkai (Georgia Institute of Technology) - วัณณสาส์น นุ่นสุข, (a Ph.D. student, Cornell University) - Yukti Mukdawijitra (Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University) - จิตทัศน์ ฝักเจริญผล (ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) - Parinya Chalermsook (uchicago.edu) - LEE Weng Choy (Artistic co-director of The Substation arts centre, Singapore) - Chris Hill (Associate Professor Media Arts, Antioch College Yellow Springs, Ohio, USA) - Steven I. LEVINE, Professor (retired) Dept of Asian Studies University of North Carolina at Chapel Hill (USA)

- ภัควดี วีระภาสพงษ์ (นักวิชาการและนักแปลอิสระ) - Joel Rocamora, (Institute for Popular Democracy, Manila, Philippines) - สุธาริน คูณผล (นักวิชาการอิสระ) - ปิยรัตน์ สินพิศุทธ์ (ข้าราชการคณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ หาดใหญ่) - Associate Professor Damien Kingsbury (Director, Masters of International and Community Development School of International and Political Studies, Deakin University Ph:) - Yuphaphann Hoonchamlong (University of Hawaii-Manoa) - อรอนงค์ ทิพย์พิมล (อาจารย์ประจำสาขาภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) - Jim Glassman (Associate Professor. Department of Geography University of British Columbia)

- อ.วรศักดิ์ มหัทธโนบล (ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - Professor Garry Rodan. Director Asia Research Centre Murdoch University Murdoch, Western Australia) - วันดี สันติวุฒิเมธี (Salween News Network) - Graeme Lang, Ph.D., (Associate Professor, Department of Asian and International Studies, City University of Hong Kong) - Satoko Watanabe (Prefectural Councilor of Kagawa, Japan) - pimphun hanskul (นักวิชาการอิสระ) - Kaoru Oshima (a member of a Sapporo city council, Japan) - -Paul D. Hutchcroft (Associate Professor, Department of Political Science, University of Wisconsin-Madison)

-ประจักษ์ ก้องกีรติ (อจ. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - Tyrell Haberkorn Ph.D. (Candidate, Department of Anthropology, Cornell University & Thailand Country Specialist, Amnesty International USA) - พัชรี สิโรรส รศ. ดร. (คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - Peter T. du Pont, Ph.D. (Lecturer/Researcher Energy and Environmental Policy Group, Joint Graduate School of Energy & Environment (JGSEE), Bangkok) - Margaret Morse(Chair of the Digital Arts and New Media MFA Program, Professor of Film and Digital Media, University of California Santa Cruz) - daniel sim (http://uk.messenger.yahoo.com)

- ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ รศ. ดร. (คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ (นักวิชาการอิสระ) - (Akemi H. Ito Occupation: University professor Country: Japan) - Heman Chong (Singapore) - สารี อ๋องสมหวัง (มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค) - ภญ.ดร.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี (เภสัชศาสตร์) - กรรณิการ์ บรรเทิงจิตร (สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ) - - Robert B. Albritton (Department of Political Science, Unversity of Mississippi) - วัชระ สินธุประมา (ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

- นพ. อุกฤษฏ์ มิลินทางกูร (มูลนิธิหมอชาวบ้าน) - Sarinna Areethamsirikul (University of Wisconsin-Madison) - นางวลักษณ์กมล จ่างกมล (คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี) - นายณรงค์ จ่างกมล (ประชาชนจังหวัดปัตตานี) - วรวิทย์ กิตติวงศ์สุนทร (ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ ๗ อุบลราชธานี และในนามเครือข่ายเภสัชกรจังหวัดอุบลราชธานี) - นาลินี ศรีกสิกุล (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน กรุงเทพฯ) - Rebecca Zorach (University of Chicago) - พรรัตน์ วชิราชัย(นิเทศศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - noraida mohamed yunos (country: singapore) - ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ (ผู้สื่อข่าว สื่อทางเลือก)

- ทพญ.ศุภลัคน์ เลิศมโนรัตน์ ท.5668 - เสาวลักษณ์ ขวัญสมคิด (กลุ่มอิสระด้านพัฒนาเยาวชน) - Lakkana Punwichai (Chiangmai) - John F. Hartmann, (Presidential Teaching Professor Foreign Languages & Literatures) - ขวัญชัย ([email protected]) - Professor Christopher L. Connery (Co-director, Center for Cultural Studies Associate Professor, Literature University of California, Santa Cruz) - Prof. Joe Lockard (English Department Arizona State University) - Kannikar KIJTIWATCHAKUL (Kar)(FTA Watch)

- Peter A. Jackson Assoc. Prof. , (Senior Fellow in Thai History, Division of Pacific and Asian History, Research School of Pacific and Asian History, Australian National University) - Heather Sutherland Professor, (Vrije Universiteit Amsterdam, Netherlands)

- นิธินันท์ ยอแสงรัตน์ (นักวิชาการสื่อ และอาจารย์พิเศษ) - ชนุตร์ นาคทรานันท์ - จิตรลดา เต็มนา -ฤชากร เต็มนา -อมรรัตน์ เต็มนา -สุนิษา ลอยฟ้า -นีรนารถ อินทยะ -กัญญาพัชร ศรีศักดิ์สรชาติ -จันจิรา มหาอัมพรพฤกษ์ -สุวิชา สุชีวคุปต์ -ปรัชญา บุญแก้ว -กมลา เพชรนิล -นิออน ศรีโสภาเจริญรัตน์ - ภารดี เหมือนตราชู -ธัญชนก กุณโฮง -Songwut Pasondhannatorn -Komkrit Suwanwela - แพรวพรรณ เต็งทอง -Ravin Khamphothong -Renee Poonpisit -Pamornmard Tantultugul - ศรัณย์ ศรีโสภาเจริญรัตน์ -รังสิมา ลิมปิสวัสดิ์

- จีรนุช เปรมชัยพร (ผู้จัดการประชาไท) - Dr. Paul Chambers, (lecturer in Political Science Chiang Mai University) - Eileen Legaspi-Ramirez, (Manila) - Frank Kunkel, (Berlin) - Som Sutthirat, (Chiang Mai) - Varsha Nair, (Bangkok) - Dr.Kenji Ago (Professor of Economics Seinan Gakuin University Japan) - วงศ์ชัย รัตนวิจิตรถาวร - นุชจรีย์ วิริยางกูรภาพ - เนาวนิจ สิริผาติวิรัตน์ - พิทยา สร้อยหลง - วสันต์ ไกรสรศิวเวท - อ.แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง (ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร) - นพ. ชูศักดิ์ หนูแดง - William A. Callahan (University of Manchester, UK) - Sachiko Takahara (lecturer at Chukyo University, Japan)

- ภาวิน ศิริประภานุกูล (อาจารย์ประจำ คณะเศรษฐศาสตร์ มธ.) - ภัททา เกิดเรือง (อาจารย์ประจำ คณะเศรษฐศาสตร์ มธ.) - ชล บุนนาค (อาจารย์ประจำ คณะเศรษฐศาสตร์ มธ.) - รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ซูซูกิ (คณะเศรษฐศาสตร์ มธ.) - KOSHIDA Kiyokazu, (Hokkaido Peace Net, Japan)

- รศ. ใจ อึ๊งภากรณ์ (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - สมบัติ เบญจศิริมงคล (อดีตนายกสมาคมนักเรียนไทยในเยอรมัน) - Charnvit Kasetsiri, Ph.D. (Senior Adviser and Lecturer Southeast Asian Studies Program Thammasat University) - Peter Limqueco, (co-editor, Journal of Contemporary Asia) - สมบัติ จิตสกุลชัยเดช - ประวิตร โรจนพฤกษ์ (นักข่าวหนังสือพิมพ์เนชั่น) - นพดล ปรางค์ทอง (มหาวิทยาลัยกรุงเทพ) - กิตติกุล ชาติชาคร (เภสัชกร) - จารี จันทราภา (นักเขียนและเว็บมาสเตอร์เว็บไซท์ Thai-writer.com) - มนตรี ศรียงค์ (กวี-นักเขียน)

- สุวินัย ภรณวลัย (รศ ดร. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - ขนิษฐา มาลยเวช - พรเทพ สงวนถ้อย - Pongsathorn Tantiritthisak (PhD Candidate, PhD Program in Integrated Sciences Graduate School, Thammasat University, Thailand) - Mathieu RAPHAT (Bachelor Degree of History, Universit de Marne la Valle, France - Former Thai studies program, Thammasat University Paris, France) - Nora Barry (Druid Media, Inc.) - Eduardo C. Tadem, Ph.D. (Associate Professor of Asian Studies University of the Philippines) - Teresa S. Encarnacion Tadem, Ph.D. (Associate Professor of Political Science University of the Philippines) - Niwa Masayo (Asia-Japan Women's Resource Center Japan)

- รศ.ดร. นวลน้อย ตรีรัตน์ (คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - พรรณิภา โสถิพันธ์ (สงขลาฟลอรั่ม) - บุปผาทิพย์ แช่มนิล (กลุ่มเยาวชนรักษ์เขาชะเมา) - วิไล ตระกูลิน (มูลริธิอโชก้า) - วรรณา จารุสมบูรณ์ (วิทยาศาสตร์สุขภาพ) - Carlos Grijalva - Pinyada Asashi , (London) - ปราปต์ บุนปาน - กุสุมา กูใหญ่ (คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาต่อณ มหาวิทยาลัยลียง 2 ประเทศฝรั่งเศส) - Chris Blakey, (National Union of Teachers, Oxford UK.) - Eileen Legaspi-Ramirez (Manila) - Frank Kunkel (Berlin) - Som Sutthirat (Chiang Mai) - Varsha Nair (Bangkok) - Yoshiko Shimada (Tokyo) - mali wu, (Taipei) - Shukit (Stockholm, Sweden) - Kaoru Aoyama (Dr) (Japan Researcher on Women's Migration)

- Craig J. Reynolds (Australian National University) - Katherine Bowie, (Professor of Anthropology, University of Wisconsin-Madison. Madison, Wisconsin, USA.) - Dr Andrew Brown (School of Social Science University of New England Australia) - - Alan Sondheim, (Brooklyn, New York) - Azure Carter, ( (Brooklyn, NY) - ไชยวัฒน์ ตระการรัตน์สันติ (นักวิชาการคอมพิวเตอร์) - ดร. ชยันต์ วรรธนะภูติ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - รศ. ดร. สมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล (คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)

- ผศ.ดร.วิลาสินี พิพิธกุล - ฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร - จารุวัฒน์ เกยูรวรรณ (จาก พรรคแนวร่วมภาคประชาชน) - ผศ.สุรัสวดี หุ่นพยนต์ (สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - ชาลี พงศ์พจน์เกษม - Kiatsuphak SridaromonT - ทพญ. อารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์ (ภาควิชาทันตกรรมชุมชน คณะทันตแพทย์ ม.เชียงใหม่) - ผศ. ดร. วิชิต เปานิล (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) - Hathai Plyvej - Tachakulthavon, Sittichai - อาจารย์ วิรัตน์ ไพรัชเวทย์ (ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ รพ. รามาธิบดี ม.มหิดล) - tusanee sinlapabutra - กิตติพล เอี่ยมกมล (นักแปลและนักวิชาการอิสระ) - Kanda Naknoi (professor at Purdue University)

- ดร.ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ (คณะสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - Riei Nagase (Translator Japan) - Dr. John Grima (Ogden, UT, USA) - นายประดิษฐ์ ลีลานิมิต (โครงการฝึกอบรมเยาวชนเพื่อการพัฒนา) - นงลักษณ์ ตรงศีลสัตย์ (นก) (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข) - นันทวัฒน์ ฉัตรอุทัย (นักวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) - กุลพร เปลี่ยนสมัย (เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน) - วราภรณ์ ดวงมณี (เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน) - พัชรี จุลหิรัญ (องค์กรพัฒนาเอกชน) - พงศธร ศรเพชรนรินทร์ - ทพ.ดร. ธงชัย วชิรโรจน์ไพศาล (ภาควิชาทันตกรรมชุมชน คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - ปิยวีร์ รื่นจินดา - เอกลักษณ์ อนันตสมบูรณ์ - ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์ (คณะทันตแพทยศาสตร์ มช.)

- KHOO Boo Teik (Associate Professor School of Social Sciences Universiti Sains Malaysia Penang, Malaysia) - Madeline G. Levine, Ph.D. (Professor of Slavic Literatures University of North Carolina, Chapel Hill USA) - SHIMIZU Satsuki (NGO staff Japan) - Carol Chan(Singapore) - Ng Yuhui, (Singaore) - Chan Yeow Khuen, (Singapore) - Vanessa Ho, (Singapore) - Sarah Wong, (Singapore) - ศิริยศ ชัยอำนวย ( สถาปนิก) - นายอนุสรณ์ ภักดิ์สุขเจริญ (สถาปนิก บริษัทแอพสแทร็ค จำกัด) - ผศ. ดร. ดาวิษี บุญธรรม (อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) - อติศักดิ์ จึงพัฒนาวดี (คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - สงวน จุงสกุล (นักวิชาการ) - อรณิศา ข่าทิพย์พาที - วีรศักดิ์ บริบูรณ์สุข

- กรรณิกาณ์ กิตติเวชกุล องค์กรหมอไร้พรหมแดน(Medicine San Frontier) - อัญญรัตน์ อ่อนสุทธิ อาชีพ องค์กรพัฒนาเอกชน (สถาบันต้นกล้า) - อังศุมาลิน บุรุษ ผู้สื่อข่าวประชาชาติธุรกิจ - Worathep Akkabootara - Sumit Mandal, (Universiti Kebangsaan Malaysia) - John Downing (Director Global Media Research Center College of Mass Communication and Media Arts Southern Illinois University at Carbondale) - ปิยะนารถ จาติเกต (ภาควิชาทันตกรรมชุมชน คณะทันตแพทยศาสตร์ มช.) - ทพ.วัฒนา ทองปัสโณว์ (ฝ่ายทันตสาธารณสุข รพ.ด่านซ้าย จ.เลย)

- ทพญ. สุชาดา ทวีรัตนพันธ์ (ฝ่ายทันตสาธารณสุข รพ.พบพระ จ.ตาก) - กนกพร พันธ์เจริญ (นักวิจัยอิสระ) - soko thai - Terry Berkowitz (New York, USA) - อธึกกิต แสวงสุข (กองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ไทยโพสต์) - Betty Buck (Asian Studies Development Program East-West Center) - Dr Eva-Lotta Hedman (Senior Research Fellow Refugee Studies Centre University of Oxford) - Fukui hayao (Ritsumeikan Asia Pacific University (APU) Japan) - trin aiyara - Mark Engler, [email protected] - สุณีย์ วงศ์ไวศยวรรณ - จักรกฤษณ์ สิริริน (นกป่า อุษาคเนย์) - พิมล สอางค์กิจ - sita karnkriangkrai - ทันตแพทย์หญิงสุณี ผลดีเยี่ยม (กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข) - อนุวัฒน์ เบญจปรีดา -

- นพ.ประพจน์ เภตรากาศ - Anocha Suwichakornpong - Jintana Ngamvithayapong-Yanai (Senior advisor for research and training The Research Institute of Tuberculosis 3-1-24 Matsuyama Kiyose, Tokyo) - Aurasri Thammasat University - วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ - วรศรี จารุรักษา - อ. ชญานี ชวะโนทย์ (คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - ผศ.ดร.จักรพงศ์ อุชุปาละนันท์ (คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

- Jon Ungphakorn (จอน อึ้งภากรณ์) - Tintin Cooper, (Bangkok) - Flaudette May V. Datuin, (Manila) - Kai Kaljo, Tallinn - Prof. Pasuk Phongpaichit, (Faculty of Economics, Chulalongorn University) - Dr. Chris Baker, Bangkok - สุภาภรณ์ อัษฏมงคล (ผู้สื่อข่าว) - บรรพต โนแบ้ว (มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) - วรพงษ์ เวชมาลีนนท์ (นักวิชาการกลุ่มจิตวิวัฒน์) - กฤษณา พรพิบูลย์ (รองผู้อำนวยการโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

- ไชยันต์ รัชชกูล (ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - Judy Freya Sibayan, (Manila) - Nanthapa Cooper, UK - Tessy Cooper, UK - MERSIJA MAGLAJLIC (PhD Scholar The Australian National University, Canberra, Australia) - กานต์ ทัศนภักดิ์ (อาชีพ: ศิลปิน และบรรณาธิการอิสระ) - ดร.มยุรี นิรัตธราดร (คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

- บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ (ที่ปรึกษาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ) - มนธิภา ยิ้มย่อง (เจ้าหน้าที่ มูลนิธิสันติภาพและวัฒนธรรม) - Pipob Udomittipong - สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) - เรือนแก้ว บำรุง - สุเจน กรรพฤทธิ์ (ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - นายรัชตะ พันธุ์แสง (สาขาวิชารัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร) เบญจมาศ บุญฤทธิ์ -ศุกร์สัญญลักษณ์ สมรรถนาวิน - นัสริน สมชาติ - จิตเสน ชูเสน - นท พูนไชยศรี - นิลาวรรณ มีเดช - คมกฤษณ์ อัศวงศ์เกษม - วลัย บุปผา - มานะชัย บุญฤทธิ์ - Prof. Michael Bielicky, (Prague Academy of Fine Arts) - Srdjan Dvornik (A. Buvine 23, HR-10000 Zagreb) - Anusorn Unno (A PhD student in anthropology, the University of Washington) - Chalita Budhuwong (Seattle, USA) - Sarah Kanouse (Assistant Professor Department of Cinema and Photography Southern Illinois University, Carbondale) - อันตนสาทิตย์ บุญทวี

- ดร. ณัฏฐิณี กาญจนาภรณ์ (อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) - ดร.เถกิง พัฒโนภาษ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์/ผู้ช่วยคณบดี ฝ่ายวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - อรดา สิงหเดชาชัย (อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีฯ) - ดร.นิรมล เปียแดง (อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - ดร.เสริมศรี สันตติ (อาจารย์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล) - นายกิจโชติ นันทนสิริวิกรม (อาจารย์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) - ดร.อโนทัย ชลชาติภิญโญ (อาจารย์ ภาควิชาอุตสาหกรรมและสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) - นายวิศาล ชูประดิษฐ์ (นักผังเมือง) - ปรานอม ตันสุขานันท์ (อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น)

- Catherine Nicola Black, (Amsterdam, The Netherlands) - พรทิพย์ ฝนหว่านไฟ - Dr. Lau Kin Chi, (Lingnan University, Hong Kong, China) - Dr. Hui Shiu Lun, (Lingnan University, Hong Kong, China) - อาดาดล อิงคะวณิช (สื่อมวลชน) - ชัชชัย คุ้มทวีพร รศ. ดร. (ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต) - Pohjade Maniratana, (student, Cardiff Business School, Cardiff University) - Daniel Dhakidae PhD in Government, (Tempo Magazine, Jakarta, Indonesia) - KHOO Boo Teik Associate Professor, (School of Social Sciences, Universiti Sains Malaysia, Penang, Malaysia)

- รศ.ดร. ไชยันต์ ไชยพร (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - ชูกิจ ปานมงคล (นักวิชการศิลปะ, สวีเดน) - ROBY ALAMPAY (Executive Director the Southeast Asian Press Alliance (SEAPA). - เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว (สำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม ม.มหิดล) - Alan Alegre (Foundation for Media Alternatives Philippines) - ผศ.ปรีชา ธรรมวินทร (คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร) - ไกรศร เรืองกูล - Peter F. Bell (Professor of Economics, State University of New York) - Nantiya Tangwisutijit (กองบรรณาธิการ The Nation) - ชัยธวัช ตุลาฑล (สนพ. ฟ้าเดียวกัน)

- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ (วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต) - Sam Boyer - Terry Berkowitz, (New York, USA) - Hsu S-chen, (Taiwan) - Barbara Lattanzi, Alfred, (New York) - Howard Schuman (Oregon, USA ) - วรุณวาร สว่างโสภากุล - Nancy Steinhart, (Florida, USA) - Saipin Suputtamongkol (Department of Anthropology Harvard University) - John F. Hartmann, (Presidential Teaching Professor Foreign Languages & Literatures) - Robert Albritton (Somkiat, Perhaps a grant will halp to keep th Midnight University alive! Bob Albritton. Title: Hellman-Hammett Grants. Sponsor: Human Rights Watch) - Jyotsna Kapur Associate Professor, (Cinema and Photography Southern Illinois University)

- Meredith Weiss, PhD (Research Fellow, East-West Center Washington United States) - Eric J. Haanstad (PhD. Candidate University of Wisconsin Madison USA) - Natalie H. Porter (PhD. Student University of Wisconsin Madison USA) - Charles Keyes (Professor of Anthropology and International Studies University of Washington Seattle) - ทัศนัย เศรษฐเสรี (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - สุริยา อาแซ - Stavros Sideras - Dr. Justin McDaniel Dept. of Religious Studies University of California, Riverside Riverside) - ชยพล ผ่องใส (หัวหน้าข่าวต่างประเทศ หนังสือพิมพ์แนวหน้า) - Dan S. Wang (artist Chicago, USA) - Professor Nicholas Tapp Z(The Australian National University) - นิภา เผ่าศรีเจริญ (บรรณาธิการ) - วรรณา เผ่าศรีเจริญ

- ผศ.ดร.ภัทรธิรา ผลงาม และคณะนักศึกษา ป.เอก ม.ราชภัฏเลย 50 คน - อ.ประเสริฐ แรงกล้า (สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - Camelia Varvara TUDOSE, (Fulbright-Hubert Humphrey Fellow from ROMANIA) - Daniel Murphy - Brian Cochran - Noppadol Thongkang (Project Manager Smartrac Technology) - ดวงพร โซสเซย์ (องค์การโซอา เรฟูจีแคร์) - จิรวรรณ โรจนพรทิพย์ (ผู้สื่อข่าว หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ บมจ.มติชน) - น.ส. ศิริพร ฉายเพ็ชร (มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม) - น.ส. พัชรี ปัญญามัง (มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม) - กองบรรณาธิการ นิตยสาร Think Big - ขอร่วมลงรายชื่อคัดค้านการปิดเว็บไซต์ที่เป็นขุมความรู้ 1.สันติสุข กาญจนประกร 2.สุชาติ น้อยถึง 3.สาธิต อุณหกะ 4.ศรศักดิ์ ปราโมชวงค์เจริญ 5.อนุสรณ์ หะเเดง

- รายชื่อผู้วิศวกรและสถาปนิกลงนามคัดค้านการปิดเวบไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน (เพิ่มเติม) - อาจารย์ กุลธิดา เตชวรสินสกุล (ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - รศ.ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล (ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - นายชยานันต์ เทพวนินกร (กรรมการบริษัท โต๊ะกลมโทรทัศน์ จำกัด) - ดร.โชคอนันต์ บุษราคัมภากร (อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี) - นายภูริทัต ไชยเศรษฐ์ (นิสิตปริญญาเอก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬางกรณ์มหาวิทยาลัย) - นางสาวพรพิมล เปี่ยมพงษ์สุข (นักออกแบบระบบแสง บริษัท Bo Steiber Lighting Design) - ฤทธิชัย ชูวงษ์ - ศรันย์ สมันตรัฐ (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) - อาณัติ เนตรมุกดา

- รศ.ปรานี วงษ์เทศ (นักวิชาการ) - ตฤณ สุขนวล (โรงเรียนสตรีปากพนัง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช 80140) - Frank Kunkel, Berlin - Som Sutthirat, Chiang Mai - Varsha Nair, Bangkok - Sara Haq, London - พงษ์พันธุ์ ชุ่มใจ (ผู้สื่อข่าวภูมิภาค สำนักข่าวประชาไท ภาคเหนือ) - นายโชติศักดิ์ อ่อนสูง (นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / ผู้ประสานงานศูนย์ข่าวสารกิจกรรมนักศึกษา (Student Activity Information Resource : SAIR.)

- ปรีดา เตียสุวรรณ (ประธานกรรมการ บจม. แพรนด้าจิวเวลรี) - ผศ.ดร.นงเยาว์ เนาวรัตน์ (คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (นักธุรกิจ) - อัญชัญ แกมเชย - Eileen Legaspi-Ramirez, (Manila) - Emma Critchley, London - Emma Critchley Photographer - นางสาวณัฐพร อาจหาญ นศ.ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ฯ ม.ธรรมศาสตร์ - เทพรัตน์ ตันติกัลยาภรณ์ (คณะศิลปศาสตร์ ธรรมศาสตร์) - กิตติพงษ์ สุ่นประเสริฐ (อาชีพ อดีตผู้สื่อข่าวบีบีซีภาคภาษาไทย) - ขอคัดค้านการปิด web midnightuniversity - วิพล ปิตานุเคราะห์ - อรนุช ปิตานุเคราะห์ - พาขวัญ ปิตานุเคราะห์

- โครงงานนักศึกษา ฝ่ายอาสาสมัคร มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (ไม่เห็นด้วยกับการปิดกั้นเว็บไซต์ ม.เที่ยงคืน) 1. นายอรรถพร ขำมะโน 2. นายวชิรวิทย์ สร้อยสูงเนิน 3. นายสมรักษ์ อุตจันดา) (ฝ่ายระดมทุนและเผยแพร่ มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม 1. นางสาวอารีย์ อาภรณ์) (ฝ่ายอาสาสมัคร มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม 1.นางสาวกฤษณา จิจุบาล)

- วรวิทย์ หัศภาค (นักโบราณคดี กลุ่มโบราณคดีใต้น้ำกรมศิลปากร ขอร่วมต่อต้านการปิดเวบของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ซึ่งเป็นการกระทำที่น่าละอายมาก) - Jorge Ishizawa (Coordinator Proyecto Andino de Tecnolog?as Campesinas (PRATEC) - Lima, Per? (Chantana Banpasirichote Wun'gaeo , Surichai Wun'gaeo)

- (กลุ่มสมัชชาคนจน - นายสมเกียรติ พ้นภัย - นายทองเจริญ สีหธรรม - น.ส.วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ - นายพรชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ - นางอัจฉรา ตันติวิทยาพิทักษ์ - น.ส.วัชรี เผ่าเหลืองทอง) - น.ส.ไพริน พลายแก้ว - นายนันทโชติ ชัยรัตน์ - น.ส.สมภาร คืนดี - นายโกมล มาสขาว - น.ส.เพ็ชร ขันจันทา - กนิษฐ์สรา สิงหพงศ์ (from Austria, Alfred Pawlin) - สฤษฏ์เดช มฤคทัต (นสพ. บางกอกโพสต์) - ภก.สงกรานต์ ภาคโชคดี (ผอ.สนง.เครือข่ายองค์กรงดเหล้า)

- รศ.ดร.วิไลวรรณ วรรณนิธิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มธ. - ผศ.ดร.ดวงมณี เลาวกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มธ. - รศ.ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มธ. - ฝ้ายคำ หาญณรงค์ - พรพิมล สันทัดอนุวัตร - พีรพจน์ สุนทรารชุน (ทราบข่าวเรื่องม.เที่ยงคืน อยากร่วมลงชื่อด้วย) -- นางสาวสุภัทรา นาคะผิว - นางสาวสุพรรณี ชนะชัย - นางสาวพุทธิณี โกพัฒน์ตา - นางปิณิดา ทองนาค

- Tsuruyo Funatsu Researcher, Institute of Developoing Economies, Japan - Laddawan Tantivitayapitak Human Rights Activist - Somsri Hananantasuk Amnesty International, Thailand - Angsumalin Burut foriegn reporter, Prachachat Business newspaper - อัฏฐวรรณ ลวณางกูร - panithan vatanapanichkit ข้าราชการ, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Names of those who disagree with the unnoticed closure of Midnight University's website - Sarah Singapore (Juz to support the petition against the closure of this website) - Domeniek Ruyters (Metropolis M).

- ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - ชาติชาย อมรเลิศวัฒนา - ดวงพร โซสเซย์ องค์การโซอา เรฟูจีแคร์ - thanaphat nuttharoj - ชุตินาฏ ศรีสุมะ - นางสาวฉัตตรา เติมวารี [email protected] - นางพรใจ ลี่ทองอิน [email protected] - นายสมชาย ลี่ทองอิน [email protected] - ๑. เยาวลักษณ์ เธียรเชาว์ ๒. ธนพล วัขรวิรุฬร์ - นายนพดล ฉัตรพัฒนพงศ์ (สถาปนิก) - นางแก้วกานต์ ฉัตรพัฒนพงศ์ (สถาปนิก)

- ดร. พวงทอง ภวัครพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วันวิสาข์ เดบรุนเน่อร์ - อาจารย์ นิสรา อารุณี (อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) - ดร.พนิต ภู่จินดา (อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - ดร.วันชัย มงคลประดิษฐ์ (อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - อาจารย์ชาตรี ประกิตนนทการ (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร) -

- เราผู้มีรายนามต่อไปนี้ขอแสดงความไม่เห็นด้วยและขอคัดค้านการที่กระทรวงไอซีทีปิดเว็บของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ขอเรียกร้องให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องยุติการปิดกั้นการเรียนรู้ของประชาชนโดยเร็ว ปรีชา อุยตระกูล - วรชัย ยงพิทยาพงศ์ - นลินี กังศิริกุล - สุพรรณี โกษพิพัฒน์ - วิรยุทธ์ สุวรรณทิพย์ - จักษุมาลย์ วงษ์ท้าว - ปารย์พิรัช จันเทศ - สุรศักดิ์ กุลบุตร (ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา)

- จักรพันธ์ วิลาสินีกุล (มหาวิทยาลัยศิลปากร) - เตยงาม ศรีสุบัติ (มหาวิทยาลัยศิลปากร) - ฉัตริยา นิตย์ผลประเสริฐ (ภัณฑารักษ์อิสระ) - เกียรติสุดา ใจกล้า - Vanaporn (Muk) Sangkapanich - ubonwan moonkanta - ทพญ.พจนา พงษ์พานิช (รพ.เวียงแก่น จ.เชียงราย) - อติเทพ ไชยสิทธิ์ (นักเรียนโรงเรียนพิจิตรพิทยาคม นักปรัชญาสำนึกสัมพัทธนิยม ผู้ปฏิบัติการศูนย์ข่าวสารกิจกรรมนักศึกษา SAIR) - รศ. สริตา ธีระวัฒน์สกุล (ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

- ดร.ถวิลวดี บุรีกุล - Pisithpong Siraphisut, Chiang Mai - Boondarik Sukhaboon, Germany - จินตนา ฐีติวรพงษ์ (การศึกษา : ปริญญาโท ส.จ.ล.) - นายโกศล สงเนียม (นักจัดรายการ สถานีวิทยุ อสมท) - Neatnapa wiwatwongsakul - Yuttapong W.- aphikanya thawisai - Thanakharn Nowkrisorn - ณัฐวุฒิ บัวประทุม (NGOs ด้านสิทธิเด็ก วุฒิการศึกษาปริญญาโทด้านกฎหมายมหาชน และอาจารย์พิเศษด้านกฎหมายในหลายมหาวิทยาลัย)

- Sopit Wangvivatana (Thai Broadcast Journalists Association) - อรรคภาค เล้าจินตนาศรี (ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - วรรณพร สังขพานิช (พนักงาน บริษัท แพลนเทชั่น โฮลดิ้งส์ จำกัด ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์) - นายพินิจการณ์ ตุลาชม นศ.ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ฯ ม.ธรรมศาสตร์ - นายวิโรจน์ สุทธิสีมา นศ.ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ฯ ม.ธรรมศาสตร์ - นางสาวอัญชลี เอกศาสตร์ นศ.ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ฯ ม.ธรรมศาสตร์ - นางสาวสุจิรา ไกรรินทร์ นศ.ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ฯ ม.ธรรมศาสตร์ - นางสาว นิลิณี หนูพินิจ นศ.ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ฯ ม.ธรรมศาสตร์ - นางสาวธัญจีรา ศรีคำ นศ.ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ฯ ม.ธรรมศาสตร์

- เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง (กลุ่มศึกษาและรณรงค์มลภาวะอุตสาหกรรม) - ธวัชชัย ป้องศรี (นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ) - จารุพรรณ กุลดิลก, ดร. (ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาและ ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม. มหิดล) - napak serirak - บดินทร์ เจียรศิลปดำรง - นายสมบุญ บุญวานิช นักวิชาการและเจ้าของบริษัทฝึกอบรม - นายกฤษดา ณ หนองคาย อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี - นายพิทักษ์พง กางการ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ - นางฟ้าใส สามารถ อาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)

รายชื่อนักศึกษาปริญญาโท
-สุวิทย์ เลิศไกรเมธี (นักศึกษาปริญญาโท รัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์) -นายพงษ์ศักดิ์ จันทร์อ่อน -นายชัชวาลย์ รักชาติ -นางสาวพอตา บวรสถิตธรรม (นิสิต ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ) -นายการุณ บวรสถิตธรรม - ชนกาญจน์ พันธุ์เดิมวงศ์ (นิสิตปริญญาโท ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - นางสาวจันทิวา อนัตนันท์ (นศ.ป.โท ภาคประวัติศาสตร์ จุฬาฯ) - วิโชคศักดิ์ รณรงค์ไพรี - Theerada Suphaphong

- ฐิตินบ โกมลนิมิ (นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - Areerat Goo - Taylor Easum (Affiliation: University of Wisconsin, Madison) (Graduate Student) - จารุวรรณ แก้วมะโน (นิสิต ป. โท คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ) - วิรพา อังกูรทัศนียรัตน์ (นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - พัชรี อังกูรทัศนียรัตน์ (นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - น.ส.พนิดา วสุธาพิทักษ์ นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี - จุฑารัตน์ ฉิมเรือง (นิสิตป.โท การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) - ภัทชา ด้วงกลัด (นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ มธ.)

- Villa Vilaithong, (Student The Australian National University, Australia) - อาธร นวทิพย์สกุล (นิสิตป.โท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - วิรพา อังกูรทัศนียรัตน์ (นศ. ป.โท มช.) - พัชรี อังกูรทัศนียรัตน์ (นศ. ป.โท มช.) - สมคิด พุทธศรี (นักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - พัชรินทร์ รักสัตย์ (นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์) - อุเชนทร์ เชียงเสน (นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - ธีรดา ศุภะพงษ์ - Larry Lohmann (UK) - วรรณนิศา เอี่ยมละออง - Ann Wizer, (Manila) - รักเผ่า เทพปัน (นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

- อังกฤษ อัจฉริยโสภณ (นักศึกษา ป.โท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - กอปรทิพย์ อัจฉริยโสภณ - สมคิด พุทธศรี - กรวรรณ รักสันติชาติ - วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์ - ธีรดา ศุภะพงษ์ - อัญชลี มณีโรจน์ (หลักสูตร Regional Center for Social Science and Sustainable Development (RCSD) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) - อนุสรณ์ ชัยอักษรเวช (คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - สมาวิษฐ์ ไชยสาร (นักศึกษาโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มธ.) - นายเชิดวุฒิ สินพิมลบูรณ์ (นักศึกษา คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย Hannover, germany) - PAUL KOSITSAWAT - ปฤณ เทพนรินทร์ นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ - จินตนา เมืองแมน นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

- มณีรัตน์ มิตรปราสาท - นางสาวเมตตา ราศรีจันทร์ (นักศึกษาปริญญาโท (ภาคค่ำ) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - น.ส.ศุภธิดา สว่างแจ้ง (นิสิตภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - น.ส.วันเสด็จ แก้วดก (นิสิตภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - นายสกุลชัย ตันติเศรณี (นิสิตปริญญาโท คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - สมานฉันท์ พัชณีย์ คำหนัก ทำงานที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ขอลงชื่อร่วมคัดค้านการปิดเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน - สุชา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - นายมรุต ภูมิมี (นักศึกษาปริญญาโท สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) - ปัณณวิช ตามไท นิสิตป.โท คณะรัฐศาสตร์ จัฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - นายพิสิษฐิกุล แก้วงาม นักศึกษาปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รายชื่อนักศึกษาปริญญาเอก
ขอร่วมคัดค้านการปิดเว็บ ม.เที่ยงคืน - เนตรดาว เถาถวิล นักศึกษาปริญญาเอก คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - อัจฉรา รักยุติธรรม นักศึกษาปริญญาเอก คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ไพบูลย์ เฮงสุวรรณ นักศึกษาปริญญาเอก คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - กนกพร ดีบุรี นักศึกษาปริญญาเอก คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - สุวิทย์ อริยโสภณ นักศึกษาปริญญาเอก คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- อริญา เศวตาร์ม นักศึกษาปริญญาเอก คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รายชื่อนักศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1 นายกันตภณ ไวโสภา 2 นางกัลยาณี โกมาสถิตย์ 3 นายกิติศักดิ์ เสนานุช 4 นางสาวชมภูนาฏ ชมภูพันธ์ 5 นายชาญวิทย์ จักรไชย 6 นายบรรจบ โชติชัย
7 นายเชาวกุล พรมใจ 8 นายณัฐพล พัฒนชัยกุล 9 ว่าที่ พันตรีณัฏฐพล ตันมิ่ง 10 ผศ.นัยนา อรรจนาทร 11 นายบุญวัฒน์ บุญทะวงศ์ 12 นายบุญธรรม ทองยา 13 พระสุริยา มาตย์คำ 14 นางปานฤทัย พุทธทองศรี 15 นางสาวพรกมล ระหาญนอก 16 พระครูอรัญ เขตพิทักษ์ 17 นายเพชรตะบอง ไพศูนย์
18 นายภิชา ผลเรือง 19 นางมลิวรรณ เคนหาญ 20 นางวัชรี แก้วสา 21 นายวรพจน์ อาษารัฐ 22 นายสุรศักดิ์ ราษี 23 นายสุริยา บรรพลา 24 นางสุภาวดี สำราญ 25 นายสุทิน เลิศสพุง 26 ว่าที่ ร้อยตรี สมปอง วิมาโร 27 นายสุรินทร์ แก้วชูฟอง 28 นางสุนันทา แก้วพันธ์ช่วง 29 นางสาวสุดารัตน์ กัลยา
30 นางอ้อยฤดี สันทร 31 นางสาวอร่ามศรี ชูศรี 32 นายบุญช่วย จงมุม 33 นายนิตย์ คงธนนันทิกุล 34 นางวรรณพร ธีรานนท์

1 นายสุธารักษ์ ครสิงห์ 2 นายพัฒนา นุศรีอัน 3 นายผดุงศิษฏ์ ชำนาญบริรักษ์ 4 นายธำรง แผนสมบูรณ์ 5 นางสาวสุภัทรา สามัง 6 นายธนวัฒน์ จอมประเสริฐ 7 นายอนุศาสน์ ป้องศิริ 8 นายสุวิทย์ รัตนปัญญา 9 นางเครือวัลย์ มาลาศรี 10 นางพนารัตน์ เดชกุลทอง 11 นายสิทธิกร อ้วนศิริ 12 ด.ต.มงคล มูลพงษ์
13 นายนพดล โรจน์วรกุล 14 นางสาวสุมณฑา ศรีสวัสดิ์ 15 พระมหาสุทธิพงษ์ คุณเมือง 16 นายประเทศ ปัญโญวัฒน์ 17 นายทัศนา กุลัตถ์นาม 18 นายกฤษณพจน์ ศรีทารัง 19 นายประมุข ศรีชัยวงษ์ 20 นางสุภัตรา ภาสองชั้น 21 นายเสริมศักดิ์ ช่วยอุปการ 22 นายบุญชม ศรีหาราช

รายชื่ออาจารย์ ศิลปิน และนักศึกษาศิลปะ
นาย สรรเสริญ มิลินทสูต อาจารย์/ศิลปิน - นาย นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ อาจารย์/ศิลปิน - นาย ธเนศ อ่าวสินธุ์ศิริ อาจารย์/ศิลปิน - น.ส. ปารดา เพชรมณี อาจารย์
น.ส. ปิยะลักษณ์ เบญจดล อาจารย์ - นาง พิมพ์จิต ตปนียะ อาจารย์ - นาย สมภพ สุวรรณวัฒนากุล นักศึกษา - น.ส. นภเกตน์ หัศบำเรอ นักศึกษา - นาย จักรพันธ์ บุณยะมัต นักศึกษา - นาย พัสภัค กล่อมสกุล นักศึกษา - นาย มโนพันธุ์ ลี้ไพบูลย์ นักศึกษา - นาย รณพีร์ ตุลวรรธนะ อาจารย์

คำขอบคุณ

Dear all

Thank you for your support to fight for precious freedom and wisdom in Thai society in these dark and difficult times

Sincerely,
The Midnight University

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

สำหรับผู้ต้องการดูรายชื่อและความเห็นเพิ่มเติม บนPetition online : กรุณาคลิก
http://www.petitiononline.com/freeweb/petition.html


ย้อนกลับไปอ่าน กรุณาคลิกบทความลำดับที่ 1051

 


 

คลิกไปที่ กระดานข่าวธนาคารนโยบายประชาชน

นักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจบทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ก่อนหน้านี้ สามารถคลิกไปอ่านได้โดยคลิกที่แบนเนอร์




สารบัญข้อมูล : ส่งมาจากองค์กรต่างๆ

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา 1I สารบัญเนื้อหา 2 I
สารบัญเนื้อหา 3
I สารบัญเนื้อหา 4 I สารบัญเนื้อหา 5
ประวัติ ม.เที่ยงคืน

สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง

webboard(1) I webboard(2)

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม



มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า 1000 เรื่อง หนากว่า 17000 หน้า
ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง)
(เริ่มปรับราคาตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2548)
เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ
midnight2545(at)yahoo.com


สมเกียรติ ตั้งนโม และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
(บรรณาธิการเว็บไซค์ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
หากสมาชิก ผู้สนใจ และองค์กรใด ประสงค์จะสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ชุมชน
และสังคมไทยสามารถให้การสนับสนุนได้ที่บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ในนาม สมเกียรติ ตั้งนโม
หมายเลขบัญชี xxx-x-xxxxx-x ธนาคารกรุงไทยฯ สำนักงานถนนสุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
หรือติดต่อมาที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com

 

 


 

H
สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานในการแสดงออกซึ่งความคิดเห็นนี้ไม่อาจถูกพรากไปจากตัวของประชาชนทุกคนได้ และหากสิทธินี่ถูกพรากจากไปด้วยการใช้กำลังบังคับดังที่เป็นอยู่ ก็จะทำให้ทั้งประชาชนและผู้ปกครองไม่สามารถทราบถึงปัญหา ความกังวลใจ ของสมาชิกในสังคมที่มีอยู่ได้ ประเพณีทางการปกครองในประเทศของเราที่ผ่านมา ไม่ว่าจะยุคใดสมัยใดนั้น ได้ให้ความเคารพกับความคิดเห็นที่หลากหลายของประชาชนมาโดยตลอด การทำลายเสรีภาพของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นโดยเฉพาะการปิดกั้นการแสดงออกทางความคิดเห็น และปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ไม่เป็นไปในด้านเดียวกับที่ท่านต้องการได้ยินนั้น ไม่ได้เป็นหลักประกันที่ดีถึงความจริงใจ และความเข้าใจของท่านที่มีต่อกระบวนการทางประชาธิปไตยที่ได้ดำเนินมาเป็นเวลายาวนานในสังคมของเรา
power-sharing formulas, options for minority rights, and constitutional safeguards.
R
กลางวันคือการเริ่มต้นเดินทางไปสู่ความมืด ส่วนกลางคืนคือจุดเริ่มต้นไปสู่ความสว่าง- เที่ยงวันคือจุดที่สว่างสุดแต่จะมืดลง เที่ยงคืนคือจุดที่มืดสุดแต่จะสว่างขึ้น