นักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจทุกท่าน หากประสงค์จะตรวจดูบทความอื่นๆที่เผยแพร่บนเว็ปไซค์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ท่านสามารถคลิกไปดูได้จากตรงนี้ ไปหน้าสารบัญ
R
related topic
200948
release date

คลิกไปหน้าสารบัญ(1)
คลิกไปหน้าสารบัญ
(2)
คลิกไปหน้าสารบัญ(3)
คลิกไปหน้าสารบัญ(4)
เพื่อดูบทความใหม่สุด

เว็ปไซต์เผยแพร่ความรู้
เพื่อสาธารณประโยชน์

หากนักศึกษาหรือสมาชิก ประสบปัญหาภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลด text size ของ font ลง
จะช่วยแก้ปัญหาได้
ผลงานวิชาการชิ้นนี้ เผยแพร่ครั้งแรกบนเว็ปไซต์ วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ : ไม่สงวนสิทธิ์ในการใช้ประโยชน์ทางวิชาการ
เว็ปไซต์นี้สร้างขึ้นเพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงอุดมศึกษาได้โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ
สำหรับผู้สนใจส่งบทความทางวิชาการเพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชน กรุณาส่งผลงานของท่านมายัง midarticle(at)yahoo.com หรือ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com
The author of this work hereby waives all claim of copyright (economic and moral) in this work and immediately places it in the public domain... [copyleft] กรุณานำบทความไปใช้ต่อโดยอ้างอิงแหล่งที่มาตามสมควร

The Midnight University

สารานุกรมฟรีฉบับมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง
เรียบเรียงโดย
สมเกียรติ ตั้งนโม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

สารานุกรมฟรีฉบับนี้ เรียบเรียงมาจากข้อมูลบนเว็ปไซต์และหนังสือสำคัญต่างๆจำนวนมาก
และงานเรียบเรียงฉบับนี้ยังอยู่ในขั้นตอนเริ่มต้นโครงการ
ซึ่งได้พยายามรักษาความถูกต้องเอาไว้ให้มากที่สุด เพื่อประโยชน์ของการนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามสมควร

(หากพบข้อผิดพลาด กรุณาท้วงติงเพื่อประโยชน์และความสมบรูณ์ของข้อมูล)
e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

(สารานุกรมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา)
สารานุกรมฟรี มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 900
เผยแพร่บนเว็ปไซต์นี้ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๘
(บทความทั้งหมดยาวประมาณ 10,000 หน้ากระดาษ A4)


ปัญหาอย่างหนึ่งของการจัดทำข้อมูลสารานุกรมโดยทั่วไป ก็คล้ายๆกับการปรับปรุงเว็ปไซต์ทั้งหลาย
ที่มักจะแจ้งว่าอยู่ระหว่างการดำเนินการปรับปรุง(under construction)
ซึ่งผู้ใช้บริการไม่ทราบว่า ได้มีการดำเนินการปรับปรุงไปมากน้อยเพียงใด
เหตุนี้ผู้เรียบเรียงจึงได้จัดทำส่วนของการรายงานความก้าวหน้านี้ขึ้น เพื่อให้นักศึกษาและผู้ใช้บริการได้มองเห็นว่า
การดำเนินการดังกล่าว กำลังทำอะไรอยู่ และได้กระทำไปถึงขั้นตอนใด เพื่อจะสามารถคาดการณ์ได้ว่า จะเข้ามาใช้บริการได้เมื่อใด และมีเรื่องอะไรบ้าง ดังนั้นจึงกำหนดให้ส่วนนี้เป็นช่องทางที่ผู้เรียบเรียงกับผู้ใช้บริการสามารถติดต่อกัน

วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๘
รายงานความก้าวหน้าการจัดทำสารานุกรม
ขณะนี้กำลังค้นคว้าคำว่า
Neoliberalism และ Anarchism
สำหรับผู้สนใจความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง คลิกไปอ่านความเคลื่อนไหวประจำวันได้ที่
กระดานข่าวมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน - ไม่ใช่ราชบัณฑิตก็ทำสารานุกรมได้

(ข้อมูลสารานุกรมที่ให้บริการแล้ว จะขีดเส้นใต้ตัวอักษร สามารถคลิกเข้าไปอ่านได้)
ขณะนี้ตัวอักษร A-Z สามารถใช้งานได้บางส่วนแล้ว





Copyleft : The Encyclopedia of the Midnight University
Version 1, October 2005
ลิขซ้าย 2548, 2549, 2550 : สมเกียรติ ตั้งนโม
ข้อมูลสารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่(The Encyclopedia of Postmosernism)จัดทำขึ้นมาเพื่อสาธารณะประโยชน์ทางการศึกษา ผู้ที่นำข้อมูลสารานุกรมฟรีไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ เผยแพร่ หรืออ้างอิง โดยต้องไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ได้รับความยินยอมจากผู้เรียบเรียง สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ตามที่ระบุไว้ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาตามสมควร โดยระบุถึงเว็ปไซต์ และ URL มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน www.midnightuniv.org

แหล่งทุนสนับสนุน :
ขณะนี้ไม่มีแหล่งทุนสนับสนุน นอกจากเงินภาษีของคนไทยทั้งทางตรงและทางอ้อมที่จัดสรรเป็นค่าเงินเดือนสำหรับราชการให้กับผู้เรียบเรียง สำหรับผู้ประสงค์ให้การสนับสนุน สามารถให้การส่งเสริมได้ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นคำแนะนำ การให้ยืมหนังสือความรู้เกี่ยวเนื่อง และการคลิกเข้ามาใช้งานโดยติดต่อกับผู้เรียบเรียงเป็นระยะๆ (อย่างไรก็ตาม การช่วยสนับสนุนแผ่นซีดี-รอม ถือเป็นช่องทางหนึ่งในการส่งเสริมสารานุกรมฉบับนี้ ให้มีกำลังสามารถทำไปได้อย่างต่อเนื่อง)

คำชี้แจงของผู้เรียบเรียง
สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่(The Encyclopedia of Postmosernism)บนไซเบอร์สเปซนี้ จัดทำขึ้นสำหรับนักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจทุกท่าน เพื่อทำความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง โดยมุ่งหวังให้เป็นพื้นฐานนำไปช่วยเสริมความรู้ในเชิงทฤษฎี และการใช้ประโยชน์ในเชิงปฏิบัติอย่างกว้างขวางในทางวิชาการ นับจากศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ด้วยเหตุนี้ จึงได้วางกรอบของสารานุกรมในแนวกว้าง เพื่อครอบคลุมวัตถุประสงค์ดังกล่าว

สำหรับแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น ผู้เรียบเรียงได้ใช้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจาก GNU Free Documentation License อย่างเช่น http://www.wikipedia.org/ รวมทั้งข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ต่างๆ เช่น หนังสือ ตำรา สิ่งพิมพ์สาธารณะอื่นๆ รวมไปถึงข้อมูลดิจิตอล หรือ ซีดี-รอม มาสังเคราะห์และเรียบเรียงใหม่ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาอันจะเกิดขึ้นตามมาทางด้านกฎหมายลิขสิทธิ์ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สำหรับผู้เรียบเรียงเอง และผู้นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการทั่วๆไป

ขั้นตอนการดำเนินงาน
ในส่วนของการดำเนินงานจัดทำ สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่บนไซเบอร์สเปซนี้ ได้แบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ

1.ระยะ เริ่มต้นโครงการ : เป็นช่วงของการรวบรวมข้อมูล และทบทวนเนื้อหาที่มีอยู่ในรูปต่างๆ (order of reference)เช่น คำศัพท์ ความเรียง บทความ หนังสือ สิ่งพิมพ์สาธารณะ และเว็ปไซต์ต่างๆที่เกี่ยวเนื่อง พร้อมรับฟังขอเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญทั้งหลาย โดยในช่วงแรกนี้จะเริ่มนำเสนอสารานุกรมฯ ฉบับนี้ในลักษณะสังเขป หรืออย่างย่อ โดยเชื่อมโยงกับ งานวิจัยคำศัพท์ภาษาอังกฤษร่วมสมัย

2. ระยะกลางของโครงการ : ทำการรวบรวมและค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม พร้อมรับฟังคำชี้แนะและคำวิจารณ์ เพื่อเสริมการดำเนินงานในระยะเริ่มต้นให้สมบูรณ์มากขึ้น มีการปรับปรุง แก้ไขส่วนที่บกพร่อง โดยเริ่มเชื่อมโยงคำศัพท์พื้นฐาน และข้อมูลเบื้องต้น กับศาสตร์อื่นๆที่มีความสัมพันธ์กันเพิ่มขึ้น และทำการสังเคราะห์เนื้อหา เพื่อทำความเข้าใจลัทธิหลังสมัยใหม่ในลักษณะสหวิทยาการ พร้อมนำเสนองานอย่างเป็นระบบไปเรื่อยๆ(order of presentation) งานในระยะที่สองนี้ จะเริ่มทำการเชื่อมโยงข้อมูลของสารานุกรมฯ ฉบับนี้กับบทความต่างๆ ที่มีบริการอยู่บน เว็ปไซต์ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

โครงการระยะที่สองนี้ จะเริ่มให้บริการแบบมีการค้นคำผ่าน search engine และทำ index เพื่อให้นักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจทุกท่านเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกมากขึ้น ส่วนของเนื้อหาข้อมูลจะมีปริมาณมากพอที่ใช้สำหรับอ้างอิงทางวิชาการ โดยเนื้อหาข้อมูลมีความยาวในระดับกลาง สำหรับการนำไปใช้เสริมผลงานทางวิชาการ หรือเชิงอรรถ

3. ขั้นตอนสุดท้ายของโครงการ : ทำการรวบรวมและค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม พร้อมรับฟังคำชี้แนะและคำวิจารณ์ เพื่อเสริมการดำเนินงานในระยะกลางให้สมบูรณ์มากขึ้น โดยมีการปรับปรุง แก้ไขส่วนที่บกพร่อง และขยายเนื้อหาข้อมูลสารานุกรมฯ ฉบับนี้ออกไปอย่างกว้างขวาง ซึ่งสามารถเป็นพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับลัทธิหลังสมัยใหม่ได้อย่างค่อนข้างสมบูรณ์ นอกจากนี้จะมีการดำเนินการจัดทำสารานุกรมฯ ฉบับนี้ที่ให้บริการอยู่บนไซเบอร์สเปซเป็นรูปเล่มชุดหนังสือ โดยแบ่งออกเป็นหมวด A-Z พร้อมหนังสือดัชนี(idex) 1 เล่ม(เช่นเดียวกับสารานุกรมฉบับมาตราฐาน) เพื่อเผยแพร่ไปตามห้องสมุดประชาชน และสถานศึกษาต่างๆ ตามกำลังความสามารถต่อไป

คำนำ
การทำสารานุกรมไม่ใช่เรื่องง่าย และยากที่จะทำคนเดียวให้ประสบผลสำเร็จออกมาอย่างสมบูรณ์ แต่ด้วยความยึดมั่นในหลักอิทธิบาท ๔ (the Four Paths of Accomplishment)หรือคุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จสมประสงค์ อันได้แก่ การมีฉันทะ - ความพอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น, วิริยะ - ความพยายาม อุตสาหะทำในสิ่งนั้น, จิตตะ - ความเอาใจใส่และฝักใฝ่ในสิ่งนั้น, วิมังสา - การพิจารณาใคร่ครวญหาเหตุผลในสิ่งนั้น ก็ย่อมสามารถทำให้เกิดปาฏิหาริย์ได้

แน่นอน ความสำเร็จที่สมบูรณ์ย่อมมาจากหลายแหล่ง พร้อมคำแนะนำอันเป็นประโยชน์หรือปรโตโฆสะจากกัลยาณมิตรด้วย ดังนั้น ผู้เรียบเรียงจึงมีความยินดีอย่างยิ่ง หากคำชี้แนะที่เป็นประโยชนจากผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีความรู้ และกัลยาณมิตรทั้งหลายจะส่งผ่านมาถึงผู้เรียบเรียง ด้วยความปรารถนาดีที่จะเสริมสร้างสารานุกรมฯ ฉบับนี้ในภาคภาษาไทยขึ้นมาเป็นชุดแรก โดยท่านสามารถติดต่อไปได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midarticle(at)yahoo.com ได้ตามสะดวก

การจัดแบ่งเนื้อหา (Arrangement of Content)
ในการจัดแบ่งเนื้อหา เพื่อสะดวกต่อการค้นคว้าหาข้อมูลจากสารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่(The Encyclopedia of Postmosernism)บนไซเบอร์สเปซนี้ ผู้เรียบเรียงได้ใช้วิธีการค้นหาตามตัวอักษร A-Z ดังที่นักศึกษาส่วนใหญ่คุ้นเคยจากหนังสือสารานุกรมทั่วๆไป มาร่วมกันกับการค้นตามหัวเรื่องผสมผสานกัน (ขอให้ดูหัวข้อ 4-8 ในเว็ปเพจนี้ประกอบ) เพื่อนำนักศึกษาเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้โดยตรง และเป็นการตอบปัญหากว้างๆ หากมีความสงสัยเกี่ยวกับเรื่องราวนั้นๆ โดยการค้นหา จะใช้ตัวอักษร คำ ประโยคภาษาอังกฤษเป็นตัวนำ ซึ่งได้ทำเป็น hyper text สำหรับคลิกเข้าไปสู่เนื้อหา ข้อสังเกตคือ เมื่อ ตัวอักษร คำ หรือประโยค นั้นได้รับการขีดเส้นใต้ หมายความว่ามีเนื้อหาบรรจุแล้ว

ส่วนตัวอักษร A-Z ข้างล่างนี้ เป็นวิธีการค้นหาข้อมูลเรื่องลัทธิหลังสมัยใหม่ตามตัวอักษร และจะมีการจัดเรียงลำดับตัวอักษรเป็นคำๆ ในระบบ alphabetical word มากกว่าเรียงตามตัวอักษร เช่น anti-globalisation มาก่อน antigen เป็นต้น (ปุ่มอักษร A-Z นี้ จะทะยอยใช้งานได้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๘ เป็นต้นไป โดยเริ่มต้นจาก อักษร P ก่อน เพราะเป็นอักษรตัวแรกของ Postmodernism หลังจากนั้นจะทะยอยใช้งานได้ไปเรื่อยๆ ตามสาระเกี่ยวเนื่อง นักศึกษาสามารถคลิกปุ่มอักษรที่หน้าเว็ปเพจนี้ได้โดยตรง เพื่อเข้าสู่เนื้อหา)

ตัวอักษรที่ใช้งานได้แล้วบางส่วน


1. การเชื่อมโยงกับบทความ (Link to Article)

เนื่องจากเว็ปไซต์ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนมีเนื้อหาจำนวนหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่อง ลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง อยู่แล้ว ดังนั้นข้อมูลจากสารานุกรมพื้นฐานฉบับนี้บนไซเบอร์สเปซ จะถูกนำไปเชื่อมโยงกับความภาษาไทยที่เคยปรากฏบนเว็ปไซต์ เพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้กับนักศึกษา

อีกประการหนึ่งซึ่งควรสังเกตไว้เพื่อประโยชน์เพิ่มขึ้นคือ ในแต่ละบทความ จะมีอักษร R ปรากฏอยู่ ซึ่งหมายถึง related หรือบทความเกี่ยวเนื่อง ซึ่งจะโยงไปสู่ความรู้ที่สัมพันธ์กันไปเรื่อยๆ ทำให้นักศึกษาได้ประโยชน์อย่างกว้างขวางเกี่ยวกับการค้นคว้าข้อมูล
ดังกล่าว โดยเหตุนี้ จึงควรได้รับประโยช์จากการเชื่อมโยงและข้อมูลสัมพันธ์ตามลำดับ

2. เครื่องมือค้นหา (Search Engine)
ในการค้นหาด้วย search engine ที่พบเห็นกันทั่วไป ซึ่งใช้กับการค้นหาข้อมูลที่มีอยู่จำนวนมากบนเว็ปไซต์ขนาดใหญ่ สำหรับสารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่(The Encyclopedia of Postmosernism)บนไซเบอร์สเปซนี้ ในระยะเริ่มต้น ยังไม่จำเป็นต้องใช้ เพราะจะสร้างความผิดหวังมากกว่าความประทับใจ เนื่องจากหาอะไรก็คงไม่เจอ ดังนั้นจึงขอแนะนำให้ใช้วิธีการ Ctrl + F ตามปกติ ซึ่งสามารถค้นหาคำ หรือประโยคในหน้าเว็ปเพจแต่ละหน้าแทน ส่วนพัฒนาการในระยะที่สองของโครงการสารานุกรมฯ ฉบับนี้ จะจัดทำ search engine ขึ้นใช้ เพื่อสะดวกต่อการค้นคว้ามากขึ้นตามเนื้อหาที่เพิ่มพูนโดยลำดับ

แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับผู้ที่เคยใช้ search engine บนเว็ปไซต์ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน โดยคลิกที่ http://midnightuniv.tumrai.com/search/index.php อยู่แล้วในการค้นหาข้อมูล หรือบทความต่างๆที่บริการฟรี สามารถนำมาใช้ได้ตามสมควร ก่อนที่จะมีการพัฒนาระบบ search engine อย่างสมบูรณ์ โดยวิธีการใช้มีขั้นตอนและข้อแนะนำดังนี้
(1) คำค้น ไม่ต่ำกว่า 3 ตัวอักษร (2) ค้นหลายคำประกอบกันได้ โดยคั่นระหว่างคำด้วย Space Bar เช่น สมชาย สาขานิติศาสตร์

Search Engine ใหม่เพื่อช่วยการค้นคว้า สามารถทดสอบคลิกได้


3. ที่ปรึกษาในการเรียบเรียง (Advisory Editors)
ดังที่ชี้แจงไว้แล้วว่า คำแนะนำ ข้อทักท้วง และการวิจารณ์อันเป็นประโยชน์ ถือเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาสารานุกรมฯ ฉบับนี้ให้เกิดความสมบูรณ์มากขึ้น ดังนั้น หากผู้เชี่ยวชาญ ผู้สนใจค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว และเคยประสบปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาข้อมูลทั้งในที่นี้และที่อื่นๆ จะมีข้อเสนอแนะ และคำแนะนำประการใด ขอให้ส่งข้อความมาได้ตาม e-mail ที่ให้ไว้แล้วข้างต้น

อีกประการหนึ่ง คำแนะนำที่ผู้เรียบเรียงจำเป็นต้องขอปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญใดๆ รวมไปถึงงานค้นคว้าของนักวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ผู้เรียบเรียงอ้างอิง และนำมาใช้ประโยชน์ทางวิชาการบนพื้นที่สาธารณะนี้ ผู้เรียบเรียงจะนำมาเสนอในส่วนที่ 3 ด้วย เพื่อเป็นกิติกรรมประกาศและเป็นเป็นเกียรติแก่เจ้าของข้อมูลความรู้ดังกล่าว

4. เนื้อหาของสารานุกรม (Content)
สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่องนี้ จะมีการนำเสนอเนื้อหาในหลากหลายมิติ ทั้งทางด้านพื้นฐานอย่างกว้างๆ และลึกซึ้ง นับจากความเป็นมาทางด้านประวัติศาสตร์, ความเกี่ยวเนื่องของลัทธิหลังสมัยใหม่กับศาสตร์แขนงอื่นๆ ร่วมสมัย, การใช้ประโยชน์เกี่ยวกับความรู้หลังสมัยใหม่กับศาสตร์ทั้งหลายในปัจจุบัน ทั้งทางศิลปะ วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ที่เป็นอยู่ ดังตัวอย่าง ที่ยกมาข้างล่างนี้ (กรุณาดูข้อย่อย 4.1 - 4.4)

สำหรับตัวอย่างหัวข้อที่นำเสนอ จะมีการเพิ่มเติมเป็นระยะๆ เพื่อให้ส่วนที่ 4. นี้ทำหน้าที่คล้ายดังสารบัญของสารานุกรมฯ ร่วมกันกับวิธีการค้นหาข้อมูลตามตัวอักษร A-Z ประกอบเข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและตรงประเด็นกับความต้องการสำหรับนักศึกษา. หัวข้อที่ได้รับการขีดเส้นใต้เป็น hyper text ซึ่งจะเชื่อมเข้าหาข้อมูลที่เว็ปไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนมีข้อมูลเดิมอยู่แล้ว สำหรับข้อมูลใหม่ที่เพิ่มเติมเข้าไป จะมีการเขียนคำว่า "ข้อมูลเพิ่มเติม" เป็นการ update ข้อมูลให้ทันสมัยและสมบูรณ์ขึ้น

เนื่องจากเนื้อหาสาระของลัทธิหลังสมัยใหม่(postmodernism) มีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงในเชิงนิเสธกับลัทธิสมัยใหม่(anti-modernism) ดังนั้นความรู้เกี่ยวกับลัทธิสมัยใหม่(modernism) จึงได้ถูกนำมาจัดวางไว้ในที่นี้ตามสมควร ซึ่งได้แยกเป็นหัวข้อหนึ่งต่างหากในหัวข้อ 4.5 (สำหรับการพัฒนาการในส่วนของลัทธิสมัยใหม่ จะทำการเก็บข้อมูลและดำเนินการในลักษณะโครงการ 3 ขั้นตอนเช่นเดียวกัน)

4.1 ชุดความรู้หลังสมัยใหม่ (Postmodernism series)
Postmodernity - ความเป็นหลังสมัยใหม่
Postmodern Theory - ทฤษฎีหลังสมัยใหม่
Postmodern philosophy - ปรัชญาหลังสมัยใหม่
Postmodern architecture - สถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่
Postmodern literature - วรรณกรรมหลังสมัยใหม่
Postmodern music - ดนตรีหลังสมัยใหม่
Critical theory - ทฤษฎีวิพากษ์
Globalization - โลกกาภิวัฒน์
Anti-Globalization - การต่อต้านโลกาภิวัตน์
Minimalism in Art - ลัทธิมินิมอลิสม์ในงานศิลปะ
Minimalism in Music - ลัทธิมินิมอลิสม์ในด้านดนตรี
Consumerism - ลัทธิบริโภคนิยม
Anti-Capitalism - การต่อต้านลัทธิทุนนิยม
Capitalism and Schizophrenia - ลัทธิทุนนิยมและอาการจิตเภท

4.2 See also
Postmodern art - ศิลปะหลังสมัยใหม่
Collage - ศิลปะแบบคอล์ลาจ (ปะปิด - สื่อผสมชนิดหนึ่ง)
Deconstructivism - ลัทธิดีคอนสตรัคติวิสม์
Eclecticism - ลัทธิอิเคลคติคซิสม์
Pastiche - การลอกเลียน
Pop art - ศิลปะแนวป๊อป
Magical realism - เมจิกคอล เรียลิสม์
Lazerous stuff - ...
Neo-romanticism - ลัทธินีโอโรแมนติก

4.3 ลัทธิหลังสมัยใหม่เชิงทฤษฎี (Theoretical postmodernism)
Anti African - ต่อต้านแอฟริกัน
Critical race theory - ทฤษฎีวิพากษ์เชื้อชาติ
Critical theory - ทฤษฎีวิพากษ์ (เพิ่มติม 1)
Deconstruction - การรื้อสร้าง
Gender studies - เพศสภาพศึกษา
Literary theory - ทฤษฎีวรรณกรรม
Localism - ลัทธิท้องถิ่นนิยม
Media studies - สื่อศึกษา
Media theory - ทฤษฎีสื่อ
Postcolonialism - ลัทธิหลังอาณานิคม
Poststructuralism - ลัทธิหลังโครงสร้างนิยม
Recursionism - ...
Sokal Affair - ...

4.4 ลัทธิหลังสมัยใหม่ที่เกี่ยวพันกับการเมืองและวัฒนธรรม (Cultural and political postmodernism)
Anti-globalization movement - ขบวนการต่อต้านโลกาภิวัตน์
Anti-racist math - ขบวนการต่อต้านพวกแบ่งแยกและกีดกันเชื้อชาติ
Anti-copyright - การต่อต้านเรื่องลิขสิทธิ์
copyleft - ลิขซ้าย

Decentralization - การกระจายอำนาจจากศูนย์กลาง
Defamiliarization - ...
Emerging Church - ...
Late capitalism - ลัทธิทุนนิยมตอนปลาย
Multiculturalism - ลัทธิวัฒนธรรมที่หลากหลาย
Neoliberalism - ลัทธิเสรีนิยมใหม่
New Age - ยุคใหม่
Postmodernism and Politics - ลัทธิหลังสมัยใหม่และการเมือง
Reinformation - ...
Social construction - การประกอบสร้างสังคม
Syncreticism - ลัทธิสังเคราะห์ความเชื่อ
Visual culture - วัฒนธรรมทางสายตา
semiotics

4.5 Modernism
การจะทำความเข้าใจลัทธิหลังสมัยใหม่ จำเป็นอย่างยิ่งที่นักศึกษาจะต้องมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับลัทธิสมัยใหม่ก่อน ดังนั้นจึงไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ที่จะต้องเพิ่มเติมฐานความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ปรัชญา การเมือง เศรษฐกิจ สังคม-วัฒนธรรมสมัยใหม่ด้วย

แม้ว่าในการค้นคว้าเนื้อหาสาระเกี่ยวกับลัทธิหลังสมัยใหม่ในหัวเรื่องต่างๆ จะได้มีการพูดถึงประวัติศาสตร์หรือปรัชญา รวมไปถึงองค์ความรู้เกี่ยวกับลัทธิสมัยใหม่อยู่บ้างแล้วตามสมควร แต่การนำเอาเรื่องของลัทธิสมัยใหม่มาจัดวางเอาไว้อย่างเป็นเอกเทศ จะทำให้นักศึกษาและผู้สนใจมีความสะดวกรวดเร็วมากขึ้นในการเข้าถึงข้อมูล พร้อมเพิ่มเติมและเสริมการค้นคว้าให้มีความกระจ่างชัดเกี่ยวกับพื้นฐานความรู้ของลัทธิสมัยใหม่ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการทำความเข้าใจลัทธิหลังสมัยใหม่อีกทอดหนึ่ง

เชื่อมโยงกับภายนอก External Links
Modernity, postmodernism and the tradition of dissent, by Lloyd Spencer (1998)

5. ปรัชญาร่วมสมัย, ทฤษฎีวิพากษ์ และความคิดหลังสมัยใหม่
( Contemporary Philosophy, Critical Theory and Postmodern Thought)
ในส่วนต่อไปนี้เป็นการนำเอารายชื่อบุคคลสำคัญทางความคิดเป็นตัวตั้ง เพื่อเรียนรู้ว่านักคิดและนักทฤษฎีเหล่านี้ มีฐานคิดของตนในการทำความเข้าใจสังคมหลังสมัยใหม่ และการวิพากษ์สังคมร่วมสมัยอย่างไร (สำหรับชื่อที่ได้รับการขีดเส้นใต้แล้ว สามารถคลิกเข้าไปศึกษาข้อมูลได้)

หัวข้อที่ได้รับการขีดเส้นใต้เป็น hyper text ซึ่งจะเชื่อมเข้าหาข้อมูลที่เว็ปไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนมีข้อมูลเดิมอยู่แล้ว สำหรับข้อมูลใหม่ที่เพิ่มเติมเข้าไป จะมีการเขียนคำว่า "ข้อมูลเพิ่มเติม" เป็นการ update ข้อมูลให้ทันสมัยและสมบูรณ์ขึ้น
อย่างสม่ำเสมอ

Theodor Adorno, Louis Althusser, Roland Barthes,
Michael Bakhtin, Jean Baudrillard, Walter Benjamin
Maurice Blanchot Kenneth Burke Jacques Derrida
Gilles Deleuze Terry Eagleton Stanley Fish
Michel Foucault Frankfurt School Hans-George Gadamer
Anthony Giddens Antonio Gramsci Felix Guattari
Jurgen Habermas Donna Haraway Martin Heidegger
Agnes Heller Max Horkheimer Edmund Husserl
Fredric Jameson Julia Kristeva Jacques Lacan,
Bruno Latour Jean Francois Lyotard Georg Luk?cs
Paul de Man Herbert Marcuse Karl Marx
Maurice Merleau-Ponty Richard Rorty Jean-Paul Sartre
Edward Said Charles Taylor Paul Virilio
Ludwig Wittgenstein, Friedrich Nietzsche

6. พื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับลัทธิหลังสมัยใหม่ (Basics)
What is Postmodernism?

Postmodernism (Wikipedia)
What is Postmodernism? (Mary Klages)
What is Postmodernism? (Jay Lemke)
etymology: post modern (John Unsworth)
Basic terms and definitions (Tim Spurgin)
Postmodern, Postmodernism, Postmodernity (Martin Irvine)
Postmodernism, Pedagogy, and Philosophy of Education (Clive Beck)
Postmodernism and its Critics (Shannon Weiss & Karla Wesley)


7. What is Critical Theory?
Critcal Theory (James Bohman, Stanford Encyclopedia of Philosophy) archive
Critical Theory (Wikipedia)
What is Critical Theory? (University College Chichester)
What is Critical Theory? (Bob Nowlan)
Introductory Guide to Critical Theory (Dino Felluga)
Critical Theory and the Limits of Sociological Positivism (R. George Kirkpatrick) mirror

8. The following pages link to here:
Anthropology
Archaeology
Talk:Archaeology
And did those feet in ancient time
Blade Runner
Bisexuality
Brian De Palma
Boy band
Christianity
Cyberpunk
Cultural movement
Calvin and Hobbes
Wikipedia:Critical Theory basic topics
Chinese historiography
Talk:Critical theory
Discordianism
Deconstruction
Ethics
Existentialism
Cinema of Germany
Friedrich Nietzsche
Fort Wayne, Indiana
Forms in architecture
False document
History
Historiography
Horror film
Talk:History of Western philosophy
History of science
Talk:Jacques Lacan
J?rgen Habermas
Joseph Campbell
Knights Templar
Knock-knock joke
K?nstlerroman
Left-wing politics
Talk:Media bias
Modernism
Minimalism
Noam Chomsky
Nihilism
New Age
Nationalism
Novel
Ontology
Political correctness
Philosophy of perception
Post Modernism (redirect page)
Stuckism
Postmodernism/Philosophy (redirect page)
Postmodern philosophy
Postmodern music
Periodization
Post-structuralism
Paul Auster
Quantum gravity
Talk:Secularism
Sokal Affair
Talk:Sokal Affair
Stuttgart
Surrealism
Semiotics
Syncretism
Thelema
Talk:World Wide Web
Zionism
Martin Heidegger
Talk:History of the Church of Jesus Christ of Latter-day Saints
Irony
Jonathan Livingston Seagull
User:24.150.61.63
Globalization
Philosophy of mathematics
Postmodernist (redirect page)
Talk:Archaeology
Umberto Eco
Michel Foucault
Philip Johnson
Talk:Historical revisionism/Archive 1
Revolutionary Girl Utena
Wikipedia:Unusual articles
NME
Heteronormativity
Svend Aage Madsen
Clement Greenberg
Ian Penman
Social
John Barth
Pee-wee's Playhouse
Art of Australia
Japanese architecture
User:Chancemill
Talk:Gay community
Antis
Dalkey Archive Press
Leslie Fiedler
Richard J. Evans
Ornament (architecture)
Scoobie Davis
David Bradby
Social progress
Transgender people in Singapore
Classical Hollywood cinema
Wikipedia:WikiReader/Encyclopaedia of the unusual
Trisha Brown
Talk:Postmodernism
Green economics
Philosophical movement
Talk:Philosophy of action
Embodied philosophy
Talk:Postmodern philosophy
History of economic thought
Intellectual history
Talk:Left-wing politics
Jacques Derrida
John Burger
Pulp Fiction
English literature
Sociology of knowledge
Cultural studies
User:Ksmathers
Contemporary art
Portmeirion
Remodernism
England, England
Le Punching-Ball et la Vache ? lait : La Critique universitaire nord-am?ricaine face au Surr?alisme
User:Sophea
Diego Vel?zquez
International relations
Instructional design
Wag the Dog
Don DeLillo
Athanasius Kircher
Ricardo Bofill
Kitsch
Solomon R. Guggenheim Foundation
Thomas Carlyle
Defamiliarization
Magic realism
Subcomandante Marcos
The Crying of Lot 49
User:Tomos
Post-processual archaeology
Late capitalism
Modern art
American Psycho
Talk:Marshall McLuhan
Social construction
Slavoj ?i?ek
Consumerism
Modern world
German philosophy
Tl?n, Uqbar, Orbis Tertius
Francis Schaeffer
Talk:Postmodern music
Culture war
Ken Wilber
Modernity
V.
Postmodern art
Post-Modernism (redirect page)
Arthur Koestler
Talk:You have two cows
Laura Riding
Pennsylvania Station (New York City)
20th century classical music
Googie architecture
Art of Italy
Anatomy of Criticism
Drayneflete Revealed
Spalding Gray
Postmodernity
Socially constructed reality
Architecture of the United States
The Giver
Social constructionism
Wikipedia talk:Why Wikipedia is not so great
Steven Weinberg
Modern
Julian Barnes
Talk:Nihilism
Consilience: The Unity of Knowledge
David Avidan
World view
American Empire
Logorrhoea
Pruitt-Igoe
Post-modernist (redirect page)
Poetry
Scholasticism
Morris Lapidus
Critical rationalism
Criticisms of Charismatic and Pentecostal belief
Massurrealism
Biopunk
Traditionalist School
Talk:Christian Exodus
Performative writing
Kalevi Aho
A Man from the Boulevard des Capuchines
Natalie Zemon Davis
Talk:Runnymede Trust
Post-modernism (redirect page)
Alchemy
Alan Moore
Consciousness
Deconstruction
Existentialism
Esotericism
Historicism
Impressionism
Jazz
Modernism
Modern dance
Postmodernism
Religious conversion
Surrealism
20th century
Cubism
Democratic socialism
Atonality
Parody
Neoliberalism
Symbolism (arts)
Expressionism
Late capitalism
Modernity
Postmodernity
Charing Cross railway station
The Scream
Modernist poetry in English
Continental philosophy
Modern architecture
Timeline of trends in music (1970-1979)
Reinformation
Contemporary classical music
Pierre Menard (fictional character)
Memphis Group
List of topics (scientific method)
Modernist Christianity
Digression
List of philosophical topics (I-Q)
Igor Mitoraj
Talk:Deconstruction/Archive1
Talk:Agnosticism/Archive 2
Category:Modern art
Modernism (music)
Timeline of trends in music from the United States (1970-Present)
Terry Farrell (architect)
Wikipedia talk:WikiProject Countering systemic bias
New Historicism
Geoffrey Rudolph Elton
User:Niceguyjoey
Modernist poetry
Wikipedia:Concise
Template:Modernism
User talk:SlimVirgin/philosophy tasks
Boomeritis
Edward Bond
Extremely Loud and Incredibly Close
Gustav BenJava
Deconstruction/Archive1
User:Maltesedog
User:Evercat
Deconstruction/Draft
Cunt (novel)
Pseudophilosophy
Jean Baudrillard
Social movement
Postdigital
Jean-Fran?ois Lyotard
Retro-futurism
Gravity's Rainbow
Antonio Negri
Virtue ethics
Kalervo Palsa
Restoration Movement
Pseudoarchaeology
Venice Biennale
Chicago school (architecture)
Gayatri Chakravorty Spivak
Talk:Feminism/Archive 2
Post-Modern (redirect page)
Lisbon
Jennifer Government: NationStates
Celldweller
Notre Dame du Haut
Murabitun
The Structure of Scientific Revolutions
Modern architecture
Social theory
Metanarrative
Critical Regionalism
List of English prefixes
Teranesia
Multimethodology
Personal experience
Turkey
Mikhail Epstein
Fredric Jameson
User:Daniel Quinlan/redirects6l
Alternative comedy
Charles Olson
Academic art
Christian theology
Mark Bloch
User:Mywyb2
Ern? Goldfinger
Orhan Pamuk
List of philosophical topics (I-Q)
Daniel Bensa?d
User:Stirling Newberry
Portland Public Service Building
Localism
Post modernism (redirect page)
Impulse and implication of Abstract Expressionism
The Birthday Boys
Post-modernest (redirect page)
Post-modern (redirect page)
Talk:Anno Domini
Conventional warfare
Origin belief
Definition of music
Josephus on Jesus
Michael Moorcock
The Illuminatus! Trilogy
Oscar Niemeyer
Michael Graves
Santa Fe, New Mexico
If On a Winter's Night a Traveler
Fourth wall
N?mes
The Clouds
Cunning Dorx
Mason & Dixon
Brisbane
Postmodernity
Jaishree Odin
Architectural history
W Network
Mr. Mxyzptlk
Dave Carter
Fact sheet
Peter Milligan
Guy Maddin
Takashi Yoshimatsu
Adiemus
Jose Antonio Davila
User:TheGrza/Bum Art
Tav Falco's Panther Burns
Orchid (band)
Talk:Cyber (subculture)
Post-Autistic Economics
User:Rj/Misc
User:Tomasso
William V. Spanos
Sarah Emily Miano
Humanistic Sociology
Angel Botello
Wikipedia:Neutral point of view/BCE-CE Debate/Votes
Restoration literature
Architecture in Portland, Oregon
Talk:Laura Riding
The Edison Phase
Miss Shangay Lily
Subversion (political)
Still Life with Woodpecker
Integral post-metaphysics
Joseph Brown Collection
User:Techelf
Terry Eagleton
Talk:Communism/Archive1
List of contemporary artists
Postmodern culture (redirect page)
Wikipedia:Offline reports/This article links to a redirect back to itself
Culture of Turkey
List of Isms
User:Bevo/subpage
User:Methylsoy
User:Pteron
Talk:Literature of the United States
Public sphere
Lists of solo piano pieces
Victor Pelevin
Body Heat
Leigh Bowery
The Modern Word
Functionalism (architecture)
Pomosexual
Minimalist music
Talk:Fashionable Nonsense
Russian postmodernism
Viacheslav Kuritsyn
Mark Lipovetsky
Wikipedia talk:WikiProject Philosophy
Talk:Heteronormativity/Archive The Justin Johnson Debate April 2004
Diff?rance
Anti-imperialism
Sky Captain and the World of Tomorrow
French science fiction
List of pieces which use collage
Talk:Gilles Deleuze
Wikipedia:Reference desk archive/April 2004
Wikipedia:WikiProject Critical Theory
List of articles in critical theory
Talk:Blade Runner
Manfredo Tafuri
Lists of pieces which use serialism
Talk:Embodiment
Post-feminism
Mainline
Neo-leftism
Heteroglossia
Whiteness studies
User:Logocentric
Jouissance
Wikipedia:Vandalism in progress
Slovenian literature
20th century concert dance
Talk:Metanarrative
Postmodern dance
Talk:Emerging Church
Category:List of solo cello pieces
Wikipedia:Offline reports/This article links to a redirect back to itself
Postmodern literature
Fluble
User:Mercurius
User:Stevefarrell
Cat and Girl
Charles Willard Moore
Giancarlo De Carlo
20th-century philosophy
Contemporary philosophy
Cuban Boys
Modernism and postmodernism (redirect page)
Wikipedia:Offline reports/Nothing links to this article
User:C. Pascoe
Wikipedia:Orphaned Articles/M
Talk:Effeminacy/Archive 2
Hamburger Schule
120 Collins Street
User:Beland
Architecture
Theatrical style
Postmodern theater
Cultural pessimism
The Woman Warrior
Donald Barthelme
Postmodern architecture
Talk:Jonathan Livingston Seagull
Hypermodernism (art)
User:Dejitarob
Template talk:Pieces-style
Science wars
Postmodernists (redirect page)
Lightbulb joke
Sociology
Social theory
Science wars
Postpositivism
Sociocultural evolution
List of controversial non-fiction books
?smail Acar
User:BryceHarrington/Notes
Talk:Sky Captain and the World of Tomorrow
The European Dream
Independent Group
Category:Postmodernism
Cambridge Declaration
Modernist project
Bouvard et P?cuchet
Spiral bound
Talk:Hongkonger
Death of the author
Society of the Spectacle
Postmodern Christianity
Johannes Grenzfurthner
Talk:Julia Kristeva
Productive forces
Robert A. M. Stern
User talk:El C/generic sub-page
David Stove
Po-mo (redirect page)
User:Matthew Stannard/Scratch/jokes
Passagen Verlag
Talk:Postmodernity
Digitality
Talk:Nig
David Mertz
Pomo
Islam in South Africa
Abortion and Evangelical Christians
History of modern literature
Wikipedia:Auto-categorization/see-also-1
MOOism
Template:Postmodernism
List of sociology topics
Premodernity
David Harvey (geographer)
Neomodernism
User talk:172/Talk block 14
Raymond Tallis
User:Jxn
User:Blackcats
User:Trtskh
List of famous failures in science and engineering
Wikipedia:Articles for deletion/Log/2005 February 6
Wikipedia:Votes for deletion/Values In Design
User talk:195.93.21.100
Anti-racist mathematics
Fractured Flickers
User:Askewmind
M. Stefan Strozier
A Heartbreaking Work of Staggering Genius
Apollo 440
User:VermillionBird/Fashionable Nonsense is not a scholarly work
User:TurtleTurtle
Ethnic studies
User:Taragui/Heteroglossia
Grace Paley
List of literary movements
Po Mo Knock Knock
User:Theoretique
Universal History
Ihab Hassan
User:Tei7oopiitiii
List of notable industrial designers
Prefabricated home
User:DDerby
Talk:Instructional design
Architecture parlante
History of geography
Archaeological theory
Prosetry
User talk:Happychick
List of art movements
Talk:Bruno Latour
The New York Five
Talk:Meme/Archive1
Linguistic turn
Wikipedia:Articles for deletion/Log/2005 May 8
Postmodernism/to-merge
Postmodernity/to-merge
Wikipedia:Votes for deletion/Pedophilia and homosexuality
User:Clemmy/303
Post-positivist
User talk:Breakall
User:Lordwow
Criticisms of Jacques Lacan
Ernest Aaron Rowe
Frank Dobson (sculptor)
Mental plane
List of schools of poetry
Themes in Blade Runner
User:Superjaberwocky
User:Gws57
Wikipedia:Requests for arbitration/RFC
Talk:Friedrich Nietzsche/archive1
Category talk:Philosophy
User:Vmarinelli
Post-Modernist (redirect page)
Art Gallery of Ontario
Neo-Byzantine architecture
Participatory Action Research
Deconstruction/Archive1
Template:Modernism Framework
Politics of South Park
Wikipedia:Music encyclopedia topics/36
Social progress
Wikipedia:Evangelical Dictionary of Theology/D
Wikipedia:Evangelical Dictionary of Theology/F
Category:Postmodern artists
User:SingularityZero
Wikipedia:WikiProject Media
Postmoderism (redirect page)
Wikipedia:Requests for comment/Nicholas Cimini
Bertha Harris
Richard Wolin
Visual sociology
User:Carolcat
Word golf
User:Dcoetzee/List of Wikipedia articles with at least 1000 hits
Low culture
Dieselpunk
User talk:193.62.43.210
Wikipedia:Reference desk/Humanities
User:Adso de Fimnu
Post-anarchism
Steven Best
Wikipedia:Vandalism in progress/Archive200509
Wikipedia:Articles for deletion/Log/2005 September 7
Wikipedia:Articles for deletion/Cartoon physics
Chris Flux
Alfonsina Storni
Deconstruction/Draft
User:Quadell/topics/P


9. ดัชนี (Index)

10. รายชื่อสื่อต่างๆที่นำมาใช้อ้างอิง (List of Reference)

11. อ้างอิง (Reference)

12. หนังสือสารานุกรมเกี่ยวกับลัทธิหลังสมัยใหม่ที่มีในภาษาอังกฤษ
Encyclopedia of Postmodernism (Routledge World Reference) (Hardcover)
by Victor E. Taylor (Editor), Charles E. Winquist (Editor) "Absence is a lack that disrupts or defers full presence..." (more)
SIPs: poststructuralist poetics, acoluthetic reason, postmodern theater, virtual faith, postmodern musicology (more)
CAPs: University of Chicago Press, University of Minnesota Press, Martin Heidegger, Michel Foucault, Roland Barthes (more)

Editorial Reviews

Book Description
This new Encyclopedia of Postmodernism is structured with biographical entries on all the key contributors to the postmodernism debate, including Mikhail Bakhtin, Pierre Bourdieum, Jacques Derrida, Jurgen Habermas and Wittgenstein. Providing an all-encompassing and welcome addition to the field, the Encyclopedia contains entries on foundational concepts of postmodernism which have revolutionized thinking in every intellectual discipline. This new Encyclopedia is the first to provide comprehensive A-Z coverage of the key individuals and concepts of postmodernism.

The 300+ entries include:
* African American studies
* Roland Barthes
* binary opposition
* Buddhism
* comparative literature
* cyberculture
* death of God
* Gilles Deleuze
* desire
* digital culture
* end of history
* globalization
* grand narrative
* improvisation
* jouissance
* logocentrism
* metalanguage
* sadism
* theatre arts
* trope
* visuality
* Cornell West
* and much more.

Fully cross-referenced and indexed, with suggestions for further reading.

Inside This Book (learn more)
First Sentence:
Absence is a lack that disrupts or defers full presence. Read the first page
Statistically Improbable Phrases (SIPs): (learn more)
poststructuralist poetics, acoluthetic reason, postmodern theater, virtual faith, postmodern musicology, pagan aesthetic, idea that communication, empirical others, postmodern poetry
Capitalized Phrases (CAPs): (learn more)
University of Chicago Press, University of Minnesota Press, Martin Heidegger, Michel Foucault, Roland Barthes, Jean-Fran?ois Lyotard, Ness York, Johns Hopkins University Press, Friedrich Nietzsche, Cornell University Press, Ferdinand de Saussure, Alan Bass, Gilles Deleuze, Julia Kristeva, Sigmund Freud, Emmanuel Levinas, Luce Irigaray, Jean Baudrillard, Oxford University Press, Indiana University Press, University of California Press, Fredric Jameson, Immanuel Kant, Northwestern University Press, Duke University Press


http://www.amazon.com/exec/obidos/tg/detail/-/0415152941/002-0129534-6448862?v=glance#sipbody



 

 

บทความวิชาการฟรีที่ผ่านมา ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
หากนักศึกษาและสมาชิกท่านใตสนใจ
สามารถคลิกไปอ่านได้จากที่นี่...คลิกที่ภาพ

 

สารบัญข้อมูล : ส่งมาจากองค์กรต่างๆ

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา 1I สารบัญเนื้อหา 2 I สารบัญเนื้อหา 3
ประวัติ ม.เที่ยงคืน

webboard(1) I webboard(2)

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็ปไซคทั้งหมด กว่า 1400 เรื่อง หนากว่า 28000 หน้า
ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง)
(เริ่มปรับราคาตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2548)
เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ
midnight2545(at)yahoo.com

 

สมเกียรติ ตั้งนโม และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
(บรรณาธิการเว็ปไซค์ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
หากสมาชิก ผู้สนใจ และองค์กรใด ประสงค์จะสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ชุมชน
และสังคมไทยสามารถให้การสนับสนุนได้ที่บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ในนาม สมเกียรติ ตั้งนโม
หมายเลขบัญชี xxx-x-xxxxx-x ธนาคารกรุงไทยฯ สำนักงานถนนสุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
หรือติดต่อมาที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com

 

 

 

คำโปรย คัดลอกมาจากบทความ เพื่อให้มองเห็นเนื้อความที่น่าสนใจบางส่วน
H
เชิญชวนผู้สนใจเรื่องลัทธิหลังสมัยใหม่ นำเสนอคำศัพท์ใหม่ๆ พร้อมคำอธิบายเพื่อทำความเข้าใจโลก และความคิดร่วมสมัย
ทั้งด้านการมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
สำหรับคำว่า"ครอบครัว"(family) ในตัวของมันเองมาจากรากเดิมในภาษาลาตินว่า famulus, หมายถึงทาสในเรือน(household slave), และคำว่า familia, จำนวนทั้งหมดของทาส(the totality of slaves) ที่เป็นของผู้ชายคนหนึ่ง
ขอขอบคุณ www.thaiis.com ที่ให้ใช้พื้นที่ฟรี


Free Documentation License
Copyleft : 2005, 2006, 2007
Everyone is permitted to copy and distribute verbatim copies
of this license document, but changing it is not allowed.

ลิขซ้าย 2548, 2549, 2550 : สมเกียรติ ตั้งนโม
ผู้ที่นำข้อมูลสารานุกรมฟรีไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ เผยแพร่ หรืออ้างอิง โดยต้องไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ได้รับความยินยอมจากผู้เรียบเรียง สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ตามที่ระบุไว้ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาตามสมควร โดยระบุถึงเว็ปไซต์ และ URL มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน www.midnightuniv.org
(อยู่ระหว่างการเริ่มต้นโครงการ)

1

 

 

 

 

2

 

 

 

 

3

 

 

 

 

4

 

 

 

 

5

 

 

 

 

6

 

 

 

 

7

 

 

 

 

8

 

 

 

 

9

 

 

 

 

10

 

 

 

 

11

 

 

 

 

12

 

 

 

 

13

 

 

 

 

14

 

 

 

 

15

 

 

 

 

16

 

 

 

 

17

 

 

 

 

18

 

 

 

 

19

 

 

 

 

20

 

 

 

 

21

 

 

 

 

22

 

 

 

 

23

 

 

 

 

24

 

 

 

 

25

 

 

 

 

26

 

 

 

 

27

 

 

 

 

28

 

 

 

 

29

 

 

 

 

30

 

 

 

 

31

 

 

 

 

32

 

 

 

 

33

 

 

 

 

34

 

 

 

 

35

 

 

 

 

36

 

 

 

 

37

 

 

 

 

38

 

 

 

 

39

 

 

 

 

40

 

 

 

 

41

 

 

 

 

42

 

 

 

 

43

 

 

 

 

44

 

 

 

 

45

 

 

 

 

46

 

 

 

 

47

 

 

 

 

48

 

 

 

 

49

 

 

 

 

50

 

 

 

 

51

 

 

 

 

52

 

 

 

 

53

 

 

 

 

54

 

 

 

 

55

 

 

 

 

56

 

 

 

 

57

 

 

 

 

58

 

 

 

 

59

 

 

 

 

60

 

 

 

 

61

 

 

 

 

62

 

 

 

 

63

 

 

 

 

64

 

 

 

 

65

 

 

 

 

66

 

 

 

 

67

 

 

 

 

68

 

 

 

 

69

 

 

 

 

70

 

 

 

 

71

 

 

 

 

72

 

 

 

 

73

 

 

 

 

74

 

 

 

 

75

 

 

 

 

76

 

 

 

 

77

 

 

 

 

78

 

 

 

 

79

 

 

 

 

80

 

 

 

 

81

 

 

 

 

82

 

 

 

 

83

 

 

 

 

84