นักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจทุกท่าน หากประสงค์จะตรวจดูบทความอื่นๆที่เผยแพร่บนเว็ปไซค์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ท่านสามารถคลิกไปดูได้จากตรงนี้ ไปหน้าสารบัญ
R
related topic
200948
release date

คลิกไปหน้าสารบัญ(1)
คลิกไปหน้าสารบัญ
(2)
คลิกไปหน้าสารบัญ(3)
คลิกไปหน้าสารบัญ(4)
เพื่อดูบทความใหม่สุด

เว็ปไซต์เผยแพร่ความรู้
เพื่อสาธารณประโยชน์

หากนักศึกษาหรือสมาชิก ประสบปัญหาภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลด text size ของ font ลง
จะช่วยแก้ปัญหาได้
ผลงานวิชาการชิ้นนี้ เผยแพร่ครั้งแรกบนเว็ปไซต์ วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ : ไม่สงวนสิทธิ์ในการใช้ประโยชน์ทางวิชาการ
เว็ปไซต์นี้สร้างขึ้นเพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงอุดมศึกษาได้โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ
สำหรับผู้สนใจส่งบทความทางวิชาการเพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชน กรุณาส่งผลงานของท่านมายัง midarticle(at)yahoo.com หรือ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com
The author of this work hereby waives all claim of copyright (economic and moral) in this work and immediately places it in the public domain... [copyleft] กรุณานำบทความไปใช้ต่อโดยอ้างอิงแหล่งที่มาตามสมควร

The Midnight University

สารานุกรมฟรีฉบับมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง
เรียบเรียงโดย
สมเกียรติ ตั้งนโม
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

สารานุกรมฟรีฉบับนี้ เรียบเรียงมาจากข้อมูลบนเว็ปไซต์และหนังสือสำคัญต่างๆจำนวนมาก
และงานเรียบเรียงฉบับนี้ยังอยู่ในขั้นตอนเริ่มต้นโครงการ
ซึ่งได้พยายามรักษาความถูกต้องเอาไว้ให้มากที่สุด เพื่อประโยชน์ของการนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามสมควร

(หากพบข้อผิดพลาด กรุณาท้วงติงเพื่อประโยชน์และความสมบรูณ์ของข้อมูล)
e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

(สารานุกรมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา)
สารานุกรมฟรี มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 900
เผยแพร่บนเว็ปไซต์นี้ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๘
(บทความทั้งหมดยาวประมาณ 10,000 หน้ากระดาษ A4)


ปัญหาอย่างหนึ่งของการจัดทำข้อมูลสารานุกรมโดยทั่วไป ก็คล้ายๆกับการปรับปรุงเว็ปไซต์ทั้งหลาย
ที่มักจะแจ้งว่าอยู่ระหว่างการดำเนินการปรับปรุง(under construction)
ซึ่งผู้ใช้บริการไม่ทราบว่า ได้มีการดำเนินการปรับปรุงไปมากน้อยเพียงใด
เหตุนี้ผู้เรียบเรียงจึงได้จัดทำส่วนของการรายงานความก้าวหน้านี้ขึ้น เพื่อให้นักศึกษาและผู้ใช้บริการได้มองเห็นว่า
การดำเนินการดังกล่าว กำลังทำอะไรอยู่ และได้กระทำไปถึงขั้นตอนใด เพื่อจะสามารถคาดการณ์ได้ว่า จะเข้ามาใช้บริการได้เมื่อใด และมีเรื่องอะไรบ้าง ดังนั้นจึงกำหนดให้ส่วนนี้เป็นช่องทางที่ผู้เรียบเรียงกับผู้ใช้บริการสามารถติดต่อกัน

เข้ามาเพิ่มเติมข้อมูลล่าสุดวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๘
รายงานความก้าวหน้าการจัดทำสารานุกรม
ขณะนี้กำลังค้นคว้าคำว่า
Postmodernism
(ข้อมูลสารานุกรมที่ให้บริการแล้ว จะขีดเส้นใต้ตัวอักษร สามารถคลิกเข้าไปอ่านได้)



Gilles Deleuze 1925-1995
ฌียส์ เดอเลอซ (Gilles Deleuze 1925-1995) เป็นนักปรัชญาคนสำคัญของฝรั่งเศสในยุคปลายศตวรรษที่ 20 หนังสือที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาคือ Anti-Oedipus และ A Thousand Plateaus ซึ่งเขียนร่วมกับ ปิแอร์-เฟลิกซ์ กัวตารี (Pierre-Felix Guattari) แต่เดอเลอซยังมีผลงานเดี่ยวอีกหลายเล่ม ที่มีอิทธิพลในด้านปรัชญา วรรณกรรม ภาพยนตร์ การเมืองและศิลปะ

เดอเลอซจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยซอร์บอนน์ รอบรู้ทั้งปรัชญายุคคลาสสิกและยุคสมัยใหม่ ทั้งเฮเกล, ฮิวม์, ซาร์ตร์ ฯลฯ เขามีแนวคิดวิพากษ์วิจารณ์ต่อลัทธิเหตุผลนิยมและสารัตถนิยม เรื่องที่น่าแปลกคือ เดอเลอซเป็นนักปรัชญาบนหอคอยงาช้างแท้ ๆ เขาแตกต่างจากปัญญาชนฝรั่งเศสสมัยนั้น กล่าวคือไม่ได้สนใจแนวคิดของลัทธิคอมมิวนิสต์, ปรากฏการณ์วิทยาหรือโครงสร้างนิยมเลย

จุดเปลี่ยนที่มีอิทธิพลพอสมควรต่อแนวคิดของเขาเกิดขึ้นในยุคทศวรรษ 1960 แต่หาใช่การประท้วงครั้งใหญ่ของนักศึกษาไม่ หากเป็นการรู้จักและสนิทสนมกับมิเชล ฟูโกต์ แม้ว่าเขาไม่ได้เข้าร่วมกับการกบฏของนักศึกษาในเดือนพฤษภาคม 1968 แต่งานเขียนของเขาสองเล่มคือ Difference and Repetition และ Expressionism in Philosophy: Spinoza กลับสามารถนำมาใช้ทำความเข้าใจการลุกฮือของขบวนการนักศึกษาในเชิงปรัชญาได้

ในปี ค.ศ. 1969 เขาเริ่มสนิทสนมกับกัวตารี และกลายเป็นเพื่อนร่วมเขียนงานกันยาวนาน ช่วงนี้เองที่เดอเลอซเริ่มมีอาการป่วยไข้เรื้อรัง จนกระทั่งฆ่าตัวตายด้วยการกระโดดตึกโรงพยาบาลในปี ค.ศ. 1995

แม้ว่าเดอเลอซไม่ได้สนใจการเมืองโดยตรง แต่แนวคิดทางปรัชญาของเขาทำให้เขาต่อต้านลัทธิเผด็จการอย่างฟาสซิสต์หรือนาซี รวมไปจนถึงระบบทุนนิยม ปรัชญาของเขาสามารถนำมาประยุกต์เข้ากับการเมืองแบบอนาธิปไตยได้
(ภัควดี วีระภาสพงษ์) (270948)

 

ลำดับตัวอักษร A-Z
search engine เครื่องมือค้นหาของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
http://midnightuniv.tumrai.com/search/index.php




 

 

บทความวิชาการฟรีที่ผ่านมา ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
หากนักศึกษาและสมาชิกท่านใตสนใจ
สามารถคลิกไปอ่านได้จากที่นี่...คลิกที่ภาพ

 

สารบัญข้อมูล : ส่งมาจากองค์กรต่างๆ

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา 1I สารบัญเนื้อหา 2 I สารบัญเนื้อหา 3
ประวัติ ม.เที่ยงคืน

webboard(1) I webboard(2)

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็ปไซคทั้งหมด กว่า 670 เรื่อง หนากว่า 9000 หน้า
ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง)
(เริ่มปรับราคาตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2548)
เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ
midnight2545(at)yahoo.com

 

สมเกียรติ ตั้งนโม และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
(บรรณาธิการเว็ปไซค์ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
หากสมาชิก ผู้สนใจ และองค์กรใด ประสงค์จะสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ชุมชน
และสังคมไทยสามารถให้การสนับสนุนได้ที่บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ในนาม สมเกียรติ ตั้งนโม
หมายเลขบัญชี xxx-x-xxxxx-x ธนาคารกรุงไทยฯ สำนักงานถนนสุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
หรือติดต่อมาที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com

 

 

 

คำโปรย คัดลอกมาจากบทความ เพื่อให้มองเห็นเนื้อความที่น่าสนใจบางส่วน
H
สำหรับคำว่า"ครอบครัว"(family) ในตัวของมันเองมาจากรากเดิมในภาษาลาตินว่า famulus, หมายถึงทาสในเรือน(household slave), และคำว่า familia, จำนวนทั้งหมดของทาส(the totality of slaves) ที่เป็นของผู้ชายคนหนึ่ง
ขอขอบคุณ www.thaiis.com ที่ให้ใช้พื้นที่ฟรี

Gilles Deleuze 1925-1995
ฌียส์ เดอเลอซ (Gilles Deleuze 1925-1995) เป็นนักปรัชญาคนสำคัญของฝรั่งเศสในยุคปลายศตวรรษที่ 20 หนังสือที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาคือ Anti-Oedipus และ A Thousand Plateaus ซึ่งเขียนร่วมกับ ปิแอร์-เฟลิกซ์ กัวตารี (Pierre-Felix Guattari) แต่เดอเลอซยังมีผลงานเดี่ยวอีกหลายเล่ม ที่มีอิทธิพลในด้านปรัชญา วรรณกรรม ภาพยนตร์ การเมืองและศิลปะ

เดอเลอซจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยซอร์บอนน์ รอบรู้ทั้งปรัชญายุคคลาสสิกและยุคสมัยใหม่ ทั้งเฮเกล, ฮิวม์, ซาร์ตร์ ฯลฯ เขามีแนวคิดวิพากษ์วิจารณ์ต่อลัทธิเหตุผลนิยมและสารัตถนิยม เรื่องที่น่าแปลกคือ เดอเลอซเป็นนักปรัชญาบนหอคอยงาช้างแท้ ๆ เขาแตกต่างจากปัญญาชนฝรั่งเศสสมัยนั้น กล่าวคือไม่ได้สนใจแนวคิดของลัทธิคอมมิวนิสต์, ปรากฏการณ์วิทยาหรือโครงสร้างนิยมเลย
(อ่านเนื้อความที่สมบูรณ์ข้างล่าง)