เว็ปไซค์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สมดุล และเป็นธรรม : บทความประจำเดือน เมษายน 2546 : กรณีสงครามสหรัฐกับอิรัค

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 252 เดือนเมษายน 2546 หัวเรื่อง : เบื้องหลังความพัวพันเกี่ยวกับสงครามอิรัค สหรัฐ และอิสราเอล โดย Edward Said เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เผยแพร่ครั้งแรกบนเว็ปไซค์ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน วันที่ 2 เมษายน 2546 (ความยาวประมาณ 17 หน้ากระดาษ A4 font 16 p.)

R
release date
020446
ติดตามเบื้องหลังความตกต่ำลงของอิรัคในทุกวันนี้ ที่มันเข้าใกล้ความพินาศและหายนะอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ทั้งๆที่อิรัคเคยเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมอาหรับ
อิรัคเป็นหนึ่งในประเทศอาหรับเพียงสองสามประเทศเท่านั้น ที่มีผู้คนซึ่งได้รับการศึกษาเป็นจำนวนมาก และมีชนชั้นกลางที่มีความสามารถ และความเชี่ยวชาญสูง, ประเทศนี้มีน้ำมัน, มีน้ำและผืนดินที่อุดมสมบูรณ์, ซึ่งมันมักจะเป็นศูนย์กลางทางด้านวัฒนธรรมของโลกอาหรับเสมอ
อิรัคเป็นแหล่งสำรองน้ำมันใหญ่ที่สุดบนโลกเป็นอันดับสอง รองลงมาจากซาอุดิ อาราเบีย และถ้าประเมินราคาน้ำมันแล้วมันมีค่าราวๆ 1.1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ -- ส่วนมากของมันได้มอบให้กับรัสเซีย, ฝรั่งเศส, และอีกสองสามประเทศไปเรียบร้อยแล้วโดยซัดดัม - นั่นเป็นสิ่งที่ใช้ได้แล้วกับอิรัค ซึ่งเป็นเป้าหมายที่สำคัญอันหนึ่งของยุทธศาสตร์อเมริกัน
บางสิ่งซึ่งรัฐสภาแห่งชาติของอิรัคใช้เป็นไพ่ตายใบหนึ่ง นั่นคือได้มอบน้ำมันส่วนนนี้ให้กับผู้บริโภคทางด้านน้ำมันที่ไม่ใช่สหรัฐ(สำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ทั้งหมด ขอให้ดู Michael Klare, "Oiling the Wheels of War," The Nation, 7 Oct). หลายต่อหลายครั้งของการต่อรองกันระหว่างประธานาธิบดี Putin และ Bush เกี่ยวข้องกับการจะปันส่วนมากน้อยแค่ไหนในเรื่องน้ำมันให้กับบริษัทน้ำมันต่างๆของสหรัฐ ซึ่งเจตนาที่จะให้รัสเซียให้คำมั่นสัญญา.
(Israel, Iraq and the US by EDWARD SAID)

ระหว่างที่มีการปฏิบัติการทางทหารของอเมริกันที่แพร่อยู่ในปัจจุบัน เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองในอิรัค สิ่งที่เกิดขึ้นนั้นคือผู้คนชาวอิรัค ซึ่งส่วนใหญ่จำนวนมากมายมหาศาลศต้องตกอยู่ในสภาพของความยากจนข้นแค้น, ความขาดแคลนด้านโภชนาการและความเจ็บป่วยในฐานะที่เป็นผลลัพธ์ของ 10 ปีแห่งการลงโทษหรือการแซงค์ชั่น ซึ่งสิ่งเหล่านี้หลุดรอดไปจากสายตาที่มองเห็น
อันนี้เป็นความประสานสอดคล้องอย่างสมบูรณ์กับนโยบายของสหรัฐอเมริกาในตะวันออกกลาง ที่สร้างขึ้นมาบนเสาหลักสองต้นอันมหึมาและสำคัญยิ่ง นั่นคือ ความมั่นคงปลอดภัยของอิสราเอล(1) และการได้ใช้น้ำมันราคาถูกอย่างอุดมสมบูรณ์(2)

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ


Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ

สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิก member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard
ข้างล่างของบทความชิ้นนี้

หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
midnight2545(at)yahoo.com
midnightuniv(at)yahoo.com

เอ็ดวาร์ด ซาอิด นักวิชาการปาเลสติเนียน Edward Said writes a weekly column for the Cairo-based al-Ahram. http://www.counterpunch.org/said1019.html CounterPunch October 19, 2002

มันมีนัยสำคัญเกี่ยวกับเจตจำนงของนายชาลอน ซึ่งได้ไปไกลลิบถึงขนาดพยายามที่จะทำลายล้างความน่ากลัวให้สิ้นซาก ซึ่งบรรดาทหารของเขาได้ทำลายเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง และต่อจากนั้นได้มีการขโมยแฟ้มข้อมูลต่างๆของคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดไดรฟส์จากสำนักงานสถิติแห่งชาติไป, รวมทั้งของกระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงการคลัง, กระทรวงสาธารณสุข, ศูนย์วัฒนธรรม, มีการจงใจทำร้ายเจ้าหน้าที่ต่างๆและทำลายห้องสมุดด้วย ทั้งหมดนี้เป็นวิธีการลดทอนความเป็นอยู่และการครองชีวิตของชาวปาเลสติเนียนลงสู่ระดับก่อนมาถึงยุคสมัยใหม่(pre-modern level)

อีกด้านหนึ่งของข้อมูล จากสื่อกระแสรองที่ถูกปิดเผยมากขึ้น ทำให้เราค่อยๆมองเห็นสาเหตุของปัญหาในตะวันออกกลาง

บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เดือนมีนาคม - เมษายน ๒๕๔๖(ใหม่)

247. แผนการทำสงครามของสหรัฐอเมริกากับอิรัค (สัมภาษณ์ นอม ชอมสกี้)(สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
249. ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจกรณีสงครามระหว่างสหรัฐกับอิรัค (โดย รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์)
250. การประจันหน้ากับจักรวรรดิ : นอม ชอมสกี้ (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ และ วิภาพันธ์ ก่อเกียรติขจร)
251.
การต่อต้านสงครามสหรัฐกับอิรัก (กิจกรรมเดือนมีนาคม - เมษายน 2546)
252. อิสราเอล-อิรัค-และสหรัฐอเมริกา โดย Edward Said (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
253. ธิดาแห่งไอซิส ฤาผู้หญิงจะถูกกดขี่เช่นเดียวกันทั้งโลก (วารุณี ภูริสินสิทธิ์ : คณะสังคมศาสตร์ มช.)
254. การปฏิรูประบบสาธารณสุขในรูป องค์กรมหาชน(1) (โดย สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ - ถอดเทปโดย วรพจน์ พิทักษ์)
255. การปฏิรูประบบสาธารณสุขในรูป องค์กรมหาชน(2) (โดย สุรพล นิติไกรพจน์ - ถอดเทปโดย วรพจน์ พิทักษ์)

256.
ระบอบทักษิณกับวัฒนธรรมการเมืองปฏิปักษ์ปฏิรูป (โดย เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธ.)


next
N

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา I webboard I ประวัติ ม.เที่ยงคืน

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม