มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ
Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ
สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิก member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard
ข้างล่างของบทความชิ้นนี้
หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
midnight2545(at)yahoo.com
midnightuniv(at)yahoo.com
คำว่า University มันมาจากคำว่า Universal แปลว่า "สากล" ในคำว่า Universal นี้มันต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับ "การแสวงหาความจริง , ความดี , ความงามของมนุษย์"
ถ้าเป็นในสมัยกลาง จะต้องเรียน
ในเรื่อง Stadium General
ซึ่งจะต้องเรียน 3 วิชาเป็นหลักใหญ่ ซึ่งเป็นเรื่องของมนุษย์ทั้ง นั้น 1) เป็นวิชาเทววิทยา
2) นิติวิทยา หรือ นิติศาสตร์ 3) ต้องเรียนวิชา แพทยศาสตร์
บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 244 เดือนมีนาคม 2546 ผลงานถอดเทปของ วรพจน์ พิทักษ์ สมาชิกมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ส่งมาเผยแพร่บนกระดานข่าว หัวเรื่อง : ปฏิรูปมหาวิทยาลัย และโรงพยาบาล โดย ส.ศิวรักษ์
เผนแพร่ครั้งแรกบนเว็ปไซค์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน วันพุธที่ 5 มีนาคม 2546
จริงอยู่พยาบาลทำงานหนักกว่าแพทย์และได้ค่าตอบแทนที่น้อยกว่า แต่ถ้าคุณรู้สึกว่าคนที่เขาเจ็บป่วยมานั้นเขาเดือดร้อนมากกว่าเรา คุณจะเปลี่ยนมิติเลย เมื่อคุณได้เป็นเพื่อนกับเขา คุณได้เรียนกับเขา คุณเปลี่ยน และเมื่อคุณเปลี่ยนคุณจะรู้สึกว่าคุณต้องการน้อย จะให้มาก อันนี้คุณจะมีพลัง
พลังมาจากไหน? มาจากคนไข้ คนไข้เหล่านั้นเขามีญาติพี่น้องเต็มไปหมดแล้วคนอีสานเป็นคนที่สามารถโยงใยรวมตัวกันได้มากที่สุด
บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ลำดับที่ 243
ลัทธิหลังสมัยใหม่และพื้นที่ทางการเมือง
Postmodernism and Politics
Iain Hamilton Grant
เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม
(ความยาวประมาณ
21 หน้ากระดาษ A4)
จากต้นฉบับหนังสือ
(หน้า 28-40)
Critical Dictionary of Postmodern Thought : Edited by Stuart Sim, Routedge,
New York, 1999.
บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา
234. การวิพากษ์วัฒนธรรมมวลชน
ของ นิทเช่ (เรียบเรียงโดย สมเกียรติ
ตั้งนโม)
235. อุดมศึกษาในทัศนะของนิธิ
(บทสัมภาษณ์ ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์)
236. บทสัมภาษณ์
: โครงการวิจัยการศึกษาทางเลือก (สัมภาษณ์ สุชาดา จักรพิสุทธิ์)
237.
ทลายความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องการทำแท้ง
(กฤตยา อาชวนิจกุล มหาวิทยาลัยมหิดล)
238. มหาวิทยาลัยในอินเดียเชิงเปรียบเทียบ
(สัมภาษณ์ ดร.ประมวล เพ็งจันทร)์
239. การสำรวจเชิงอนาธิปไตย
กรณีเขื่อนปากมูล (จัดโดย มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
240. ความรู้ที่ขาดหายไปในกระบวนการตัดสินในของรัฐ
กรณีเขื่อนปากมูล (จัดโดย
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
241. บนเส้นทางของความน่าเกลียด
: ว่าด้วยเรื่องของสุนทรียศาสตร์ (เรียบเรียงโดย สมเกียรติ ตั้งนโม)
242.
มหาวิทยาลัยไทยโดนไวรัส
(งานวิจัยสาเหตุและปัญหามหาวิทยาลัยฉบับสังเคราะห์)
สมเกียรติ ตั้งนโม
243.
ลัทธิหลังสมัยใหม่และพื้นที่ทางการเมือง
(Postmodernism and Politics)
244.
ปฏิรูปมหาวิทยาลัยและโรงพยาบาล
(สุลักษณ์ ศิวรักษ์ - ถอดเทปโดย วรพจน์ พิทักษ์)
245.
สังคมจะไร้ทางออก ถ้าไม่เรียนรู้ (อ่านและวิเคราะห์สังคมโดย
ประเวศ วะสี
- ถอดเทปโดย วรพจน์
พิทักษ์)
246.
การเมืองภาคประชาชน
ความเป็นธรรมทางสังคม กับ ความเป็นธรรมทางกฎหมาย (ไพสิฐ พาณิชย์กุล)
ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา I webboard I ประวัติ ม.เที่ยงคืน
e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com
หากประสบปัญหาการส่ง
e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com
ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม
สำหรับสมาชิกที่ต้องการ download ข้อมูล อาจใช้วิธีการง่ายๆดังต่อไปนี้
1. ให้ทำ hyper text ข้อมูลทั้งหมด
2. copy ข้อมูลด้วยคำสั่ง Ctrl + C
3. เปิด word ขึ้นมา (microsoft-word หรือ word pad)
4. Paste โดยใช้คำสั่ง Ctrl + V
จะได้ข้อมูลมา ซึ่งย่อหน้าเหมือนกับต้นฉบับทุกประการ
(กรณีตัวหนังสือสีจาง ให้เปลี่ยนสีเป็นสีเข้มในโปรแกรม Microsoft-word)
ในยุคนี้เองที่บอกว่ารัฐบาลให้ความเป็นอิสระแก่มหาวิทยาลัย เพราะคุณ ถนอม กิติขจรคุมธรรมศาสตร์ คุณประภาส จารุเสถียร คุมจุฬาลงกรณ์ นี่คืออิสระ !! เพราะมหาวิทยาลัยขึ้นกับ 2 คนนี้โดยตรง ?
และพอหลัง14 ต.ค.เมื่อ 2 คนนี้ไปแล้ว มหาวิทยาลัยก็ยังนึกว่าตนเองมีอิสระแทนที่ !! แต่คนที่เข้ามาเป็นอธิการบดี ถ้าจะเป็นอย่างอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ อยู่ได้ไม่ถึงปีหรอก ก็จะถูกถีบออกไป แล้วคนที่ถีบออกไปนั้นก็คืออาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นั่นเอง ไม่ใช่ทหารที่ถีบออกไป
อธิการบดีมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่จะเป็นแบบ ถนอมและประภาสมาจนถึงทุกวันนี้ จิตสำนึกเป็นเผด็จการ จิตสำนึกเป็นพวก ส. รับใช้แทบทั้งนั้นทุกมหาวิทยาลัย
เพราะอาจารย์ป๋วยเป็นคนเดียว พอเข้ามาเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่านเรียกตัวเลขมาดูเลย ธรรมศาสตร์ที่อาจารย์ปรีดีตั้งขึ้นเพื่อวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ตั้งขี้นเพื่อให้ลูกคนจนเรียน อาจารย์ป๋วยมาดู 97%ไม่มีลูกคนจนเรียนเลย ท่านหาทางเปิดเพื่อให้ลูกคนจนเรียน แล้วปรากฎว่าอาจารย์มหาวิทยาลัยสอนภาคค่ำอะไรต่ออะไร รวยกันเพราะเหตุนี้ อาจารย์ป๋วยบอกให้เลิก พวกอาจารย์เหล่านี้จึงได้ถีบแกออกไป อย่าลืมว่า มหาวิทยาลัยก็ดี โรงพยาบาลก็ดี ล้วนเป็นแหล่งมั่วสุมหาเงินกัน