B
หน้าสารบัญแต่ละหน้า จะบรรจุหัวข้อบทความจำนวน 200 บทความ : ขณะนี้ท่านกำลังอยู่ที่หน้าสารบัญ 7 (1200-1400)
H


The Midnight's homepage : http://midnightuniv.tumrai.com




มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า ๑,๓๐๐ เรื่อง หนากว่า ๒๕,๐๐๐ หน้า ในรูปของ CD-ROM
เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง) เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com


1201. ชุดโครงการวิจัย "มาเลเซีย: นัยที่สำคัญต่อไทย (ทุนวิจัย) (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย) (สกว.)
1202. ปาฐากถา ณ ป๋วยเสวนาคาร: มองป๋วยผ่านสังคมร่วมสมัย (ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1203. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์: ชีวิต งาน และความคิดด้านการศึกษา (รศ. ชูศรี มณีพฤกษ์, อดีต อ. เศรษฐศาสตร์ มธ.)
1204. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์: ความคิดด้านสังคมเศรษฐกิจการเมืองไทย
(รศ. ชูศรี มณีพฤกษ์, อดีต อ. เศรษฐศาสตร์ มธ.)
1205. คนตานี: มลายูมุสลิมที่ถูกลืม (อานุภาพการทำลายชาติพันธุ์) (วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์)
1206. คนตานี: อัตลักษณ์ที่ถูกแช่แข็งในโลกของยาวี
(วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์)
1207. จากสำนึกของสถาปนิก ถึงธาตุแท้ระบบทุนนิยม (ปกป้อง จันวิทย์, คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1208. จากสำนึกของสถาปนิก ถึงธาตุแท้ระบบการศึกษา McUniversity (ปกป้อง จันวิทย์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1209. ความรู้ อำนาจ และภาษา: มายาคติของผู้บริหาร (ศิริพร มณีชูเกตุ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร)
1210. ลัทธิพลเมืองโลก(Cosmopolitanism): จากแนวคิดกรีก ถึงยุคสว่าง (สมเกียรติ ตั้งนโม : มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1211. ปกิณกะสยาม: จากจักรพรรดิราช ถึงการเปลี่ยนนามประเทศ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
1212. สี่กษัตริยาปตานี : บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน (สุภัตรา ภูมิประภาส : เขียน. นักวิชาการอิสระ)
1213. ทัศนวิจารณ์ : สี่กษัตริยาแห่งปัตตานี มีแต่ การเมือง เลือด อำนาจ (ภาพันธ์ รักษ์ศรีทอง : วิจารณ์, ประชาไท)
1214. ประวัติศาสตร์ชาติที่เป็นประวัติศาสตร์ประสาชาวบ้าน (ดร. ฮอง ลิซ่า : เขียน, ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร : แปล)
1215. ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช : ในมุมของพม่า (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1216. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์: จารีตการเขียนรัฐธรรมนูญไทย ๘ ประการ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1217. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์: จารีตการเขียนรัฐธรรมนูญไทยกับสันติประชาธรรม (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1218. อำนาจเก่า ต่อท่อ พระพุทธศาสนาประจำชาติ (ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ : เขียน, มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1219. สังคมศาสตร์กับแฟชั่น: การทับซ้อนของพื้นที่ เวลา และสถานที่ (ทัศนัย เศรษฐเสรี : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1220. ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน: การย้อนแย้งจากข้อเท็จจริง (๑) (วีรบูรณ์ วิสารทสกุล,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสาตร์)

1221. ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน: การย้อนแย้งจากข้อเท็จจริง (๒) (วีรบูรณ์ วิสารทสกุล, มหาวิทยาลัยธรรมศาสาตร์)
1222. กระดานความคิดชาวบ้าน: เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ (กระดานหนึ่ง) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1223. Stuart Hall และวัฒนธรรมศึกษา: ถอดระหัสการกดทับทางวัฒนธรรม (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1224. รัฐธรรมนูญฉบับที่ ๑๙: ประชาธิปไตยที่กินได้และการเมืองที่เห็นหัวคนจน (สุลักษณ์ ศิวรักษ์, องค์ปาฐกนำ)
1225. รัฐธรรมนูญที่ไม่ได้ตอบโจทย์ของสังคม (ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ : นักวิชาการอิสระ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1226. การเมืองเรื่องอัตลักษณ์ในนวนิยายเรื่อง "เสียงเพรียกจากท้องน้ำ" (นัทธนัย ประสานนาม, มหาวิทยาลัยนเรศวร)
1227. บทนำ Bangkok Documenta Magazine และความเป็นมา (Keiko Sei : เขียน / สฤณี อาชวานันทกุล : แปล)
1228. วิวาทะทางวิชาการ: กรณี JTEPA ระหว่างสมเกียรติ ตั้งกิจวานิช (TDRI) vs นันทน อินทนนท์ (ผู้พิพากษา)
1229. รัฐธรรมนูญกับรัฐสวัสดิการ ผู้หญิง และเรื่องคนไร้สัญชาติ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1230. ปฏิรูปสื่อเกาหลีใต้ - เบื้องหลังความสำเร็จ K-POP (กันยา พฤกษ์ : เรียบเรียง, www.Localtalk2004.com)

1231. เกษียร เตชะพีระ: จากปตานีดารุสสะลาม ถึง คำบรรยายที่ฟิลิปปินส์ (กอง บก. มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1232. พุทธศาสนาในสยาม จากหายนะสู่วัฒนะ (ตอนที่ ๑) (อ.สุลักษณ์ ศิวรักษ์ : องค์ปาฐก ณ วัดสวนดอก จ.เชียงใหม่)
1233.
พุทธศาสนาในสยาม จากหายนะสู่วัฒนะ (ตอนที่ ๒) (อ.สุลักษณ์ ศิวรักษ์ : องค์ปาฐก ณ วัดสวนดอก จ.เชียงใหม่)
1234. บทความนอกจักรวาล : นวนิยายที่มี พ.ศ. (ตอนที่ ๑) (รศ.ดร.ไชยยันต์ ไชยพร : เขียน, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ)
1235. บทความนอกจักรวาล : นวนิยายที่มี พ.ศ. (ตอนที่ ๒) (รศ.ดร.ไชยยันต์ ไชยพร : เขียน, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ)
1236. แนวทางการศึกษาของ อ.ป๋วย, แนวทางการศึกษาของเวียดนาม (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1237. การกลับมาของทหารและการใช้นโยบายละเว้นโทษ (ตอนที่ ๑) (กรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย : AHRC)
1238. การกลับมาของทหารและการใช้นโยบายละเว้นโทษ (ตอนที่ ๒) (กรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย : AHRC)
1239. การกลับมาของทหารและการใช้นโยบายละเว้นโทษ (ตอนที่ ๓) (กรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย : AHRC)
1240. Public Deliberation: การร่วมหารือเพื่อการตัดสินใจ (ตอนที่ ๑) (พิกุล สิทธิประเสริฐกุล : แปล)

1241. Public Deliberation: การร่วมหารือเพื่อการตัดสินใจ (ตอนที่ ๒) (พิกุล สิทธิประเสริฐกุล : แปล)
1242. ข้อเสนอคว่ำรัฐธรรมนูญฉบับขุนนาง และนโยบายชายแดนใต้ (รวบรวมบทความ ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์)
1243. That is not call politics: การเมืองในชื่อเรียกอื่น (วีรบูรณ์ วิสารทสกุล : แปล, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1244. ทศวรรษที่ผ่านมากับการพัฒนาอุดมศึกษาในเวียดนาม (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1245. เชิงอรรถก่อนเนื้อความ: การบรรจุพระพุทธศาสนาในร่างรัฐธรรมนูญ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1246. วิเคราะห์ร่างรัฐธรรมนูญปี๕๐: ฉบับขุนนางรัฐประหาร (นิธิ เอียวศรีวงศ์ และ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ : วิเคราะห์)
1247. ว่าด้วยความเข้าใจเรื่องญิฮาดและชะฮีด กรณีการต่อสู้ที่ปัตตานี (อ.ฏ๊อบรอนีย์ (วิสุทธิ์) บิลล่าเต๊ะ)
1248. ปัญหาว่าด้วยหลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญในฐานะกฎหมายสูงสุด (รศ.ดร.วรเจตน์ ภาคีรัตน์, นิติศาสตร์ มธ.)
1249. ดร.อัมเบดการ์ มหาบุรุษผู้นำพุทธศาสนากลับคืนสู่มาตุภูมิ (ชำนาญ จันทร์เรือง, มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1250. Fashionsophy: แฟชั่นสไตล์ป๊อปคัลเชอะและฟิวเจอริสท์อิตาลี (ทัศนัย เศรษฐเสรี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

1251. คำอธิบายประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ และการร่างรัฐธรรมนูญ (คัดลอกมาจากสถาบันปรีดี พนมยงค์)
1252. วิกฤติโลกาภิวัตน์ในสังคมไทย มองผ่านรวมเรื่องสั้นหลัง "แผ่นดินอื่น"(๑) (ธัญญา สังขพันธานนท์ : เขียน)
1253. วิกฤติโลกาภิวัตน์ในสังคมไทย มองผ่านรวมเรื่องสั้นหลัง "แผ่นดินอื่น"(๒) (ธัญญา สังขพันธานนท์ : เขียน)
1254. ตุลาการภิวัตน์: อํานาจตุลาการในร่างรัฐธรรมนูญไทย (พิเชษฐ เมาลานนท์ และคณะ : มหาวิทยาลัยนีกาตะ)
1255. ฉลอง สุนทราวาณิชย์: เรื่องสั้นของนิธิ แต่พระเครื่องไม่รู้ของใคร (กอง บก.มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
1256. เศรษฐกิจการเมือง: การผลิตล้นเกินและนโยบายลาตินของสหรัฐฯ (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : นักแปลอิสระ)
1257. ม.เที่ยงคืนชูสีเขียวตองอ่อน ไม่เอารัฐธรรมนูญฉบับ 'เวทีสนามหลวง' (กอง บก.มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
1258. ถึงกัลยาณมิตร "ถ้าไม่มีทางเลือกที่ 3 มันก็เป็นการพ่ายแพ้ของเรา" (สัมภาษณ์เกษียร เตชะพีระ, ประชาไท)
1259. จรัญ โฆษณานันท์: คำพิพากษาที่ไร้การพิพากษา (จรัญ โฆษณานันท์ : เขียน, มหาวิทยาลัยรามคำแหง)
1260. ๗๖ นักวิชาการทั่วประเทศ ร่วมกันไม่รับร่างรัฐธรรมนูญปี ๕๐ (กอง บก. มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน, รวบรวม)

1261. มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: จากกลุ่มอนุรักษ์แม่รำพึง ถึงสมัชชาคนจนหน้าทำเนียบฯ (ตอนที่ ๑)
1262. มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: จากกลุ่มอนุรักษ์แม่รำพึง ถึงสมัชชาคนจนหน้าทำเนียบฯ (ตอนที่ ๒)
1263. รายงานสรุปการโฆษณาของนักวิชาการให้รัฐบาลและ คปค (ตอนที่ ๑) (กองบรรณาธิการ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1264. รายงานสรุปการโฆษณาของนักวิชาการให้รัฐบาลและ คปค (ตอนที่ ๒) (กองบรรณาธิการ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1265. รายงานสรุปการโฆษณาของนักวิชาการให้รัฐบาลและ คปค (ตอนที่ ๓) (กองบรรณาธิการ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1266. หาเรื่องมอง: ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมทางสายตาและสถาปัตยกรรม (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : เขียน)
1267. วาทกรรมความเป็นชาติไทยในจินตนาการผ่านสื่อพิพิธภัณฑ์ (ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม : เขียน, นักวิชาการอิสระ)
1268. นักศึกษาเพื่อสันติภาพภาคใต้ กับคุรุชาวฮินดูผู้มีอูฐ ๑๗ ตัว (ผศ. สุชาติ เศรษฐมาลินี, มหาวิทยาลัยพายัพ)
1269. เหตุการณ์พฤษภาปี ๓๕ และ ๑๙กันยา ๔๙: ประชาชนผิดตรงไหน? (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1270. ห้าร้อยปีแห่งการปล้น: จากโคลัมบัสถึงบรรษัทอเมริกา (เอดูอาร์โด กาเลเอโน: เขียน, ชำนาญ ยานะ: แปล)

1271. อนาคตศึกษา: จากยุคยูโธเปียถึงยุคหลังสมัยใหม่ (จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์ : เขียน, สถาบันรามจิตติ)
1272. รอบเดือนของนิธิ: จากรัฐธรรมนูญเชิงเปรียบเทียบถึงอดีตไทยรักไทย (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1273. รอบเดือนของเกษียร: จากเสรีภาพกับศีลธรรมถึงระบอบทักษิณ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1274. นิติรัฐสั่นคลอน: กรณียุบพรรค-ตัดสิทธิ์เลือกตั้ง (คดีฉาว) (ชนินทร์ ติชาวัน : วิเคราะห์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง)
1275. 'รัฐประหาร ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙': เราถกเถียงกันเรื่องอะไร (ฉบับร่าง) (ดร. ไชยันต์ รัชชกูล : วิเคราะห์)
1276. ร้อยวันร้อยหัวข้อบรรยาย กับนิทรรศการศิลปะ Documenta12 (ภาษาอังกฤษ documenta 12 magazine)
1277. แถลงการณ์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: เรื่องความฉ้อฉลในการเชิญชวนลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ ๕๐
1278. African Sage Philosophy: ปรัชญาคนฉลาดแอฟริกัน (สมเกียรติ ตั้งนโม: เรียบเรียง, มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1279. แถลงการณ์สมัชชาคนจน - ปิดเขื่อนปากมูลถาวรทำไม? (ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
1280. พัฒนาการของภาพยนตร์แนวสยองขวัญในซีกโลกตะวันตก (วิสิฐ อรุณรัตนานนท์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

1281. ความขัดแย้งและความรุนแรงร่วมสมัยในเรื่องสั้น กนกพงศ์ สงสมพันธุ์ (ผศ. ธัญญา สังขพันธานนท์ : เขียน)
1282. เมื่อพระเครื่องก้าวขึ้นเป็นสุดยอดของเครื่องรางไทย (ฉลอง สุนทราวาณิชย์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
1283. บิลล์ เกตส์: จงเป็นนักเคลื่อนไหวและประจัญกับความไม่เสมอภาคที่รุนแรง (ดร.ไสว บุญมา : ถอดความ)
1284. ประวัติศาสตร์ไทยไม่ไกลตัว: เหตุการณ์ก่อนการร่างรัฐธรรมนูญ ๒๕๑๗ (ดร.บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ)
1285. ประวัติศาสตร์ไทยไม่ไกลตัว: บทเรียนการร่างรัฐธรรมนูญ ๒๕๑๗ (ดร.บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ)
1286. เส้นทางเดินของนาม: จากสยามเป็นไทย-นามนั้นสำคัญมากฉะนี้หรือ ? (ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ : เขียน)
1287. Noam Chomsky: รื้อโครงสร้างการเมืองและสื่ออเมริกัน (สฤณี อาชวานันทกุล : เขียน / แปล)
1288. จากแมนจูกลายเป็นจีน ซูสีไทเฮา ถึงน้ำมันในแอฟริกา (สิทธิพล เครือรัฐติกาล, มหาวิทยาลัยรังสิต)
1289. กรณ์อุมา พงษ์น้อย: ทำไมต้องรักท้องถิ่น และเรื่องเกี่ยวเนื่องเจริญ วัดอักษร (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1290. เจริญ วัดอักษร: กับนโยบายสาธารณะด้านพลังงาน (เดชรัต สุขกำเนิด, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

1291. รัฐธรรมนูญชาวบ้าน: พื้นที่วัฒนธรรมทางการเมืองในชีวิตประจำวัน (ตอนที่ ๑) (Dr. Andrew Walker : เขียน)
1292. รัฐธรรมนูญชาวบ้าน: พื้นที่วัฒนธรรมทางการเมืองในชีวิตประจำวัน (ตอนที่ ๒) (Dr. Andrew Walker : เขียน)
1293. เชอเกียม ตรุงปะ: หลายสิ่งดูจะชัดเจนขึ้นยามเมื่อคุณจนมุม (แปลและเรียบเรียง โดย วิจักขณ์ พานิช)
1294. ส.ศิวรักษ์: สุนทรกถาบ่อนอก ธรรมศาสตร์ และลานพระบรมรูปทรงม้า (สุลักษณ์ ศิวรักษ์ : ปาฐก)
1295. ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้: ต้องมีพื้นที่ทางการเมืองให้ประชาชน (ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ : อภิปราย)
1296. John Kenneth Galbraith: นักเศรษฐศาสตร์ชายขอบ-ปัญญาชนสาธารณะ (สฤณี อาชวานันทกุล)
1297. วิจารณ์วิจัยอานันท์ กาญจนพันธุ์: สังคมไทยในงานของฉัตรทิพย์ นาถสุภา (ฉลอง สุนทราวาณิชย์ : วิจารณ์)
1298. Paul Hawken: หนึ่งในผู้บุกเบิกกระบวนทัศน์ทุนนิยมธรรมชาติ (สฤณี อาชวานันทกุล : นักวิชาการอิสระ)
1299. Amartya Sen ผู้บุกเบิกเศรษฐศาสตร์สังคมสงเคราะห์ (สฤณี อาชวานันทกุล : เขียน / แปล)
1300. Elliot Spitzer ยอดอัยการผู้รู้ทันกลโกงนักธุรกิจยุคโลกาภิวัตน์ (สฤณี อาชวานันทกุล : เขียน / แปล)

1301. แถลงกาณ์และการบรรยายสาธารณะ: กรณียักษ์ที่ถือกระบอง, สมบัติ บุญงามอนงค์ และ กกต.
1302. การลงประชามติคืออะไร, ทำไมเราจึงไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ? (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1303. ฮิตเลอร์และมุสโสลินีกับการลงประชามติ: ทรราชเสียงข้างมาก (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1304. พระราชบัญญัติความมั่นคง : พระราชบัญญัติความบ้าคลั่ง (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1305. ร่างพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร พ.ศ. ... (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1306. ธงชัย วินิจจะกูล, ชำนาญ จันทร์เรือง และร่างรัฐธรรมนูญปี ๕๐ (ฉบับสมบูรณ์) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1307. ยูเรเซียกับการขับเคี่ยวทางยุทธศาสตร์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและรัสเซีย (ตอนที่ ๑) (ดุลยภาค ปรีชารัชช : เขียน)
1308. ยูเรเซียกับการขับเคี่ยวทางยุทธศาสตร์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและรัสเซีย (ตอนที่ ๒) (ดุลยภาค ปรีชารัชช : เขียน)
1309. นักค้าอนุพันธ์ทางการเงิน ผู้ผันตัวมาสร้างสารานุกรมวิกิพีเดีย (สฤณี อาชวานันทกุล : นักวิชาการอิสระ)
1310. Michel Foucault: สำหรับคนอ่านไม่รู้เรื่อง (ปฐมบท) (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง, มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1311. ๖ นักนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: ประกาศและแถลงการณ์ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญปี ๕๐
1312. การเมืองศูนย์กลาง การเมืองชายขอบ และการเมืองก้าวต่อไป (ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ : มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1313. กฎหมายไทย: เกื้อกูลหรือกีดกันสวัสดิการคนจน (ตอน ๑) (ไพสิฐ พาณิชย์กุล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1314. กฎหมายไทย: เกื้อกูลหรือกีดกันสวัสดิการคนจน (ตอน ๒) (ไพสิฐ พาณิชย์กุล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1315. ประวัติศาสตร์ชุมชนพราหมณ์-ฮินดูในสังคมไทย (ดุลยภาค ปรีชารัชช : เขียน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
1316. อนันตริยกรรมประเทศและเรื่องการลงประชามติ (สมเกียรติ ตั้งนโม : มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1317. จากความเป็นวีรบุรุษของ คมช. ถึงการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญปี ๕๐ (กำพล จำปาพันธ์ - ภาสพงษ์ เรณุมาศ)
1318. Fareed Zakaria: เสรีนิยมใต้รัฐธรรมนูญเหนือประชาธิปไตยไร้เสรี (สฤณี อาชวานันทกุล : เขียน-แปล)
1319. Euthanasia : สิทธิการตายอย่างสงบที่ยังเป็นข้อถกเถียง (อมรา สุนทรธาดา และ.., มหาวิทยาลัยมหิดล)
1320. ถกแถลงวิชาการ: การไม่รับร่างรัฐธรรมนูญและประชามติอำพราง (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)

1321. การศึกษาทางเลือก: สงครามกองโจรบนการเมืองความรู้ (ตอนที่ ๑) (จิรภักดิ์ จอมวิญญาณ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1322. การศึกษาทางเลือก: สงครามกองโจรบนการเมืองความรู้ (ตอนที่ ๒) (จิรภักดิ์ จอมวิญญาณ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1323. อารัมภบทเกี่ยวกับหนังสือเรื่อง สื่อทางเลือก ของ Chris Atton (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
1324. โหรไทยกับประวัติศาสตร์โลก: เมื่อโหรไทยทำนายดวงพระชะตามกุฎราชกุมารรัสเซีย (ฉลอง สุนทราวาณิชย์)
1325. ทำไมพม่าต้องย้ายเมืองหลวงจากย่างกุ้งไปเพียงมะนา? (ตอนที่ ๑) (ดุลยภาค ปรีชารัชช : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
1326. ทำไมพม่าต้องย้ายเมืองหลวงจากย่างกุ้งไปเพียงมะนา? (ตอนที่ ๒) (ดุลยภาค ปรีชารัชช : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
1327. 21st Century Socialism: กรณีศึกษาการเมืองร่วมสมัยในเวเนซุเอลา (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : เขียน)
1328. บทบรรยายเชิงทดสอบเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีร่างกาย (ตอน ๑) (ศิริลักษณ์ คชนิล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1329. บทบรรยายเชิงทดสอบเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีร่างกาย (ตอน ๒) (ศิริลักษณ์ คชนิล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1330. จากระบำหน้ากากและภาพยับยุม ถึงถ้ำอะชันตาและวัฒนธรรมคชุรโห (ดร.ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์ : เขียน)

1331. ข้อเสนอทดลอง: ว่าด้วยความเปลือยเปล่าของชีวิตทางเศรษฐกิจ (ศักดิ์สิทธิ์ สีลาเขต : เขียน)
1332. Fashionsophy: แฟชั่นกับการประกอบสร้างอย่างมีกระบวนการ (ทัศนัย เศรษฐเสรี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1333. จากคอมมิวนิสต์คิวบา ถึงขบวนการอิสลามมาเลเซียสมัยใหม่ (สุขทวี สุวรรณชัยรบ - อะฮ์มัด เฟาซี อับดุล ฮามิด)
1334. เส้นทางอันขรุขระของสื่อตะวันตก และการวิพากษ์วิทยุ BBC (สมเกียรติ ตั้งนโม, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1335. Thaksin's 24 Hours After the Coup: 24 ชั่วโมงของทักษิณ หลังรัฐประหาร (คำนำและบทคัดย่อ)
1336. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๑ เสียงโทรศัพท์ยามรุ่งอรุณ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : เรียบเรียง)
1337. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๒ ข่าวลือกลายเป็นความจริง (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : เรียบเรียง)
1338. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๓ ไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1339. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๔ จากตำรวจถึงนายกรัฐมนตรี (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1340. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๕ การปกครองประเทศโดยซีอีโอ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1341. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๖ บุญคุณและความแค้นต่อสื่อ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1342. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๗ การรัฐประหารที่โรยด้วยกลีบดอกไม้ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1343. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๘ ฟางเส้นสุดท้าย (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน, เรียบเรียง)
1344. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๙ กลับไปสู่จุดเดิม (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1345. Thaksin's 24 Hours After the Coup: บทที่ ๑๐ คงยังไม่ใช่ตอนอวสาน (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน, เรียบเรียง)
1346. แดจังกึม ลัทธิขงจื้อ และสถานภาพของผู้หญิงเกาหลี (สุกัญญา อินต๊ะโดด, นศ.ป.โท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1347. แรงงานกับโลกาภิวัตน์: สหภาพแรงงานฯ ทางออกเดียวของการต่อสู้ (กอง บก.มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1348. Martial law: กฎอัยการศึก กฎควบคุมฝูงสัตว์(พลเมืองไร้ระเบียบ) (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1349. รูเพิร์ท เมอด็อช: ฟุตบอลพรีเมียร์ลีก และโลกาภิวัตน์ (ณัฐกร วิทิตานนท์ : มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง)
1350. การทำรัฐประหาร = Official Revolution: ลงทุนต่ำ-กำไรสูง (ตอน ๑) (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ : เขียน)

1351. การทำรัฐประหาร = Official Revolution: ลงทุนต่ำ-กำไรสูง (ตอน ๒) (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ : เขียน)
1352. การปฎิวัติพุทธศาสนามาแก้ปัญหาสังคมหลังสมัยใหม่ (ตอนที่ ๑) (พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร)
1353. การปฎิวัติพุทธศาสนามาแก้ปัญหาสังคมหลังสมัยใหม่ (ตอนที่ ๒) (พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร)
1354. การปฎิวัติพุทธศาสนามาแก้ปัญหาสังคมหลังสมัยใหม่ (ตอนที่ ๓) (พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร)
1355. การปฎิวัติพุทธศาสนามาแก้ปัญหาสังคมหลังสมัยใหม่ (ตอนที่ ๔) (พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร)
1356. ขนบจารีตและค่านิยมขงจื้อกับการกดทับผู้หญิงเกาหลี (สุกัญญา อินต๊ะโดด : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1357. ประวัติศาสตร์: การปฏิวัติสถานภาพของสตรีเกาหลีใต้ยุคใหม่ (สมเกียรติ ตั้งนโม - สุกัญญา อินต๊ะโดด)
1358. ประวัติศาสตร์: ความเป็นมาเกี่ยวกับการเขียนบันทึกของไทย (เอมอร ลิ้มวัฒนา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1359. ภูมิธรรมความคิด: จากแนวคิดสรรโวทัยถึงเสรีภาพด้านอาหาร (ปาจารยสาร, มิถุนายน-กรกฎาคม ๒๕๕๐)
1360. อำนาจโลกที่เดินถอยหลัง: กรณีเหตุการณ์ประท้วงในพม่า (ความเป็นมา ตอนที่ ๑) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1361. อำนาจโลกที่เดินถอยหลัง: กรณีเหตุการณ์ประท้วงในพม่า (ความเป็นมา ตอนที่ ๒) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1362. อำนาจโลกที่เดินถอยหลัง: กรณีเหตุการณ์ประท้วงในพม่า (ความเป็นมา ตอนที่ ๓) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1363. Legitimacy: ว่าด้วยความชอบธรรมตกยุค vs ความชอบธรรมร่วมสมัย (สมเกียรติ ตั้งนโม มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1364. ความสัมพันธ์อาเซียนกับพม่า และบทสัมภาษณ์ Burma Peace Group (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1365. พม่า ๒๐๐๗: การปิดประตูตีแมวต่อหน้าประชาคมโลก (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
1366. นานาทัศน์ปัญญาชนสยาม กับสถานการณ์ล้อมฆ่าในพม่า (๑) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1367. นานาทัศน์ปัญญาชนสยาม กับสถานการณ์ล้อมฆ่าในพม่า (๒) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1368. ผู้ลี้ภัยพม่าละลอกเก่า กับ สถานการณ์รุนแรงพม่าละลอกใหม่ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1369. เดินถอยหลัง: สำรวจความสัมพันธ์พม่า-จีน และคอมมิวนิสท์พม่า (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
1370. Post-modern: มองหลังสมัยใหม่ สังคม คน ความคิด (จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

1371. มายาคติในความหมายของความยากจน ตอนที่ ๑ (สามชาย ศรีสันต์: เขียน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1372. มายาคติในความหมายของความยากจน ตอนที่ ๒ (สามชาย ศรีสันต์: เขียน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1373. มายาคติในความหมายของความยากจน ตอนที่ ๓ (สามชาย ศรีสันต์ : เขียน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1374. ยกสามัญชนขึ้นเป็นเจ้า: ร่างกฎหมายที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพเสียเอง (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1375. เสกสรรค์ ประเสริฐกุล: ปาฐกถาประชาธิปไตย ๑๔ ตุลา ๒๕๔๖ (ดร.เสกสรรค์ ประเสริฐกุล : ปาฐก)
1376. ปิดประตูฆ่าแมว: สะเก็ดแผลประวัติศาสตร์เหตุการณ์ ๖ ตุลา ๑๙ (โดย: ทีมงานไทยโซลิดาริตี้)
1377. KOCCA: เกาหลีกับการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมให้เป็นสินค้า (ธเนศ เจยเสนานนท์ : เขียน)
1378. แนวคิดฐานทรัพยากรอาหาร versus จักรวรรดินิยมทางอาหาร (กฤษฎา บุญชัย : เขียน, นักวิชาการอิสระ)
1379. จากระดับโลกสู่สังคมไทย: ขบวนการเคลื่อนไหวด้านแนวคิดฐานทรัพยากรอาหาร (กฤษฎา บุญชัย : เขียน)
1380. Sigmund Freud - Jacques Lacan: เชิงอรรถเรื่องตัวตน-อัตลักษณ์ (สมเกียรติ ตั้งนโม และ เอมอร ลิ้มวัฒนา)

1381. ไทยถอยหลัง: ๑ ปีรัฐประหาร และกฎหมายความมั่นคงใหม่ (ธีรยุทธ บุญมี, สุรชาติ บำรุงสุข : เขียน)
1382. เหลียวมองชายแดนด้านตะวันตก: ไทยกับผู้ลี้ภัยจากประเทศพม่า (บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์ : เขียน)
1383. มายาคติชาติพันธุ์: ปัญหาแรงงานข้ามชาติ ข้ามมาทำไม ? (Migrant wokers) (อดิศร เกิดมงคล : เขียน)
1384. โหราศาสตร์การเมือง: ชาตะบ้านเมือง-ชะตานักการเมือง (ปาฏิหาริย์ ประกาศสัจธรรม: เขียน)
1385. Astrology & Astronomy: โหราศาสตร์ในฐานะไส้ติ่งของวิทยาศาสตร์ (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1386. US: วาระซ่อนเร้นกับการปฏิวัติผ้าเหลืองในเมียนมาร์ (กอง บก. มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1387. Peace Journalism: สื่อเพื่อสันติภาพและไร้ความรุนแรง (ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา: ม. สงขลานิครินทร์-ปัตตานี)
1388. ชำนาญ จันทร์เรือง: บทเรียนทางกฎหมายและการเมืองไทยตกยุค (๑) (ชำนาญ จันทร์เรือง: เขียน)
1389. ชำนาญ จันทร์เรือง: บทเรียนทางกฎหมายและการเมืองไทยตกยุค (๒) (ชำนาญ จันทร์เรือง: เขียน)
1390. The Annales School: การปฏิวัติงานเขียนประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส (อธิป จิตตฤกษ์, นักวิชาการอิสระ)

1391. จัดการลุ่มน้ำแบบบูรณการ: ความรู้ที่สับสน ข้อวิพากษ์ กับคำถามการวิจัย (วีรบูรณ์ วิสารทสกุล: เขียน)
1392. โครงการสื่อเพื่อบริบทสิทธิมนุษยชน: จากชายขอบถึงศูนย์กลาง (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1393. โครงการสื่อเพื่อบริบทสิทธิมนุษยชน: จากชายขอบถึงศูนย์กลาง (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : สารบัญบทความ)
1394. Alternative media - Radical media: นิยามและหลักทฤษฎีเบื้องต้น (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1395. น้ำมัน น้ำตา น้ำตาล: วิกฤตการณ์พลังงานและปัญหาสุขภาพ (เดชรัต สุขกำเนิด, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
1396. นักคิดรุ่นกลาง: เล่าอัตชีวประวัติประชาธิปไตยไทยอายุ ๗๕ ปี (เกษียร เตชะพีระ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1397. กองทัพไทยกับความมั่นคง และการจัดการความขัดแย้งหลังสมัยใหม่ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1398. เยาวชนฝ่ายซ้ายพูด: Social democracy in Thailand (เมธา มาสขาว : ศ. เยาวชนเพื่อประชาธิปไตย)
1399. บทสัมภาษณ์นอม ชอมสกี: การปฏิวัติอยู่ใต้ผิวหน้า (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1400. พระราชบัญญัติย้อนยุค: พรบ.ความมั่นคง - พรบ.ใครมั่นคง ? (ตอนที่ ๑) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1401. พระราชบัญญัติย้อนยุค: พรบ.ความมั่นคง - พรบ.ใครมั่นคง ? (ตอนที่ ๒) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
900. สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง (สมเกียรติ ตั้งนโม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

ขณะนี้นักศึกษา สมาชิก และผู้อ่านกำลังอยู่ที่หน้าสารบัญที่ 7
ลำดับบทความจาก 1200 -1400

คลิกไปที่สารบัญ ๘ (บทความ 1400-1600)

สารบัญ ๑ next (บทความ 001-200)
สารบัญ ๒ next (บทความ 200-400)
สารบัญ ๓ next (บทความ 400-600)
สารบัญ ๔ next (บทความ 600-800)

สารบัญ ๕ next (บทความ 800-999)
สารบัญ ๖ next (บทความ 1000-1200)




 

สนใจข้อมูลสาธารณะที่ส่งมาจากองค์กรต่างๆ คลิกไปดูได้ที่ป้ายข้างบน
เพื่อไปยังหน้า"สารบัญข้อมูล-จากองค์กรต่างๆ"

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า 1300 เรื่อง หนากว่า 25000 หน้า
ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง)
เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า สนใจสั่งซื้อได้ที่
midnightuniv(at)gmail.com
ส่งธนาณัติถึง
สมเกียรติ ตั้งนโม : ไปรษณีย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 50202
สมเกียรติ ตั้งนโม : คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนนสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50202
(หมายเหตุ : กรณีสั่งซื้อแผ่น CD-ROM จากต่างประเทศ ราคา 250 บาท รวมค่าจัดส่ง)
คลิกอ่านรายละเอียดที่กระดานข่าว ม.เที่ยงคืน

 

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา 1I สารบัญเนื้อหา 2 I สารบัญเนื้อหา 3
สารบัญเนื้อหา 4 I สารบัญเนื้อหา 5 I สารบัญเนื้อหา 6
ประวัติ ม.เที่ยงคืน

webboard(1) I webboard(2)

e-mail : midnightuniv(at)gmail.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

สมเกียรติ ตั้งนโม และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
(บรรณาธิการเว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
หากสมาชิก ผู้สนใจ และองค์กรใด ประสงค์จะสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ชุมชน และสังคมไทยของเวบ็ปไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน สามารถให้การสนับสนุนได้ที่บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ในนาม สมเกียรติ ตั้งนโม หมายเลขบัญชี xxx-x-xxxxx-x ธนาคารกรุงไทยฯ สำนักงานถนนสุเทพ
อ.เมือง จ.เชียงใหม่ หรือติดต่อมาที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com

ข้อความใดๆก็ตามที่ปรากฏบนเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เป็นของเจ้าของชื่อ หรือนามแฝง หรือ IP ของผู้นั้น
ซึ่งไม่อยู่ในวิสัยความรับผิดชอบโดยตรงของบรรณาธิการเว็บไซต์นี้
หากพบข้อความใดบนเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนที่หมิ่นประมาท หรือล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ชุมชน และสังคม
กรุณาแจ้งให้ทราบ เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขโดยเร็วที่สุด
(หากพบข้อความดังกล่าว กรุณาแจ้งให้ทราบที่ midnightuniv(at)gmail.com)

ถ้อยแถลง
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า 1250 เรื่อง หนากว่า 20000 หน้า ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง) เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com

 

 

เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน สร้างขึ้นมาเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถเข้าถึงอุดมศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเรียนผ่านระบบการศึกษาที่เป็นทางการ
หน้าสารบัญบทความ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ตั้งแต่ลำดับที่ 1200 - 1400 : เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2549 : ขึ้นปีที่ 7 (พศ. 2543 - พศ.2550)
The Alternative higher education : 2000-2007

กลับไปหน้าสารบัญสี่
กลับไปหน้าสารบัญห้า
กลับไปหน้าสารบัญหก

กลับไปหน้าสารบัญหนึ่ง
กลับไปหน้าสารบัญสอง
กลับไปหน้าสารบัญสาม