เว็บไซต์ที่บอกไม่ได้ว่ามีคุณภาพหรือไม่
เพราะคุณต้องตัดสินใจเอาเองว่าจะใช้คำคุณศัพท์ที่เหมาะสมกับเว็บนี้อย่างไร?
เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนไม่สงวนลิขสิทธิ์ ในการนำความรู้ที่นำเสนอไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการและสังคม
หากนำเอางานวิชาการไปใช้ประโยชน์
กรุณาแจ้งให้ทราบที่
midnight2545(at)yahoo.com
หรือ midnightuniv(at)gmail.com
Free Documentation
License
Copyleft : 2006,
2007, 2008
Everyone is permitted to copy and distribute verbatim copies
of this license document, but changing it is not allowed.
ลิขซ้าย
2548, 2549, 2550, 2551 : สมเกียรติ ตั้งนโม
ผู้ที่นำข้อมูลสารานุกรมฟรีไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ เผยแพร่ หรืออ้างอิง
โดยต้องไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ได้รับความยินยอมจากกองบรรณาธิการ
สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ตามที่ระบุไว้ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาตามสมควร
โดยระบุถึงเว็บไซต์ และ URL มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน www.midnightuniv.org
สารบัญบทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ตั้งแต่บทความลำดับที่ ๐๐๐๑ - ๑๔๐๐
ปัจจุบันกระแสโลกาภิวัตน์ดูเหมือนจะเป็นยูโธเปีย(utopia) สำหรับประเทศศูนย์กลาง
แต่ขณะเดียวกันกระแสโลกาภิวัตน์นี้กลับกลายเป็นยูโธปลอม(dystopia) ของบรรดาประเทศชายขอบทั้งหลาย
เนื่องจากได้นำมาซึ่งการสูญเสีย และกดขี่ทางด้านสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นรูปธรรม
ทั้งทางด้านความยุติธรรม ความเท่าเทียม อิสรภาพ และการพัฒนาที่ยั่งยืน
ไม่ว่าจะมองจากมิติทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และกฎหมาย ฯลฯ
โดยสื่อหลายแขนงทำหน้าที่กล่อมเกลาให้สิ่งเหล่านี้ดำรงอยู่และเป็นที่ยอมรับ
แทนที่จะตั้งคำถาม
โครงการสื่อเพื่อบริบทสิทธิมนุษยชน มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เกิดขึ้นมาจากการเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้ที่กำลังคุกคามผู้คน
และพยายามที่จะแสวงหาตัวบท และกรณีตัวอย่างในที่ต่างๆ มานำเสนอ เพื่อทำความเข้าใจ
สถานการณ์โลกที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน และทางออกที่หลากหลายในประเทศชายขอบต่างๆ
เพื่อประโยชน์ต่อสังคมไทย
สำหรับผู้สนใจ สามารถส่งบทความเข้าร่วมกับโครงการได้ที่
midnightuniv(at)gmail.com
นักวิชาการไทยจากทั่วประเทศร่วมเสนอทางออกการเมืองแบบ
๒ ขั้วอำนาจ โดยการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทั้งฉบับ
จากนั้น จัดให้มีการลงประชามติโดยไม่มีการบังคับขืนใจ คลิกอ่านที่แบนเนอร์
สำหรับประชาชน นักศึกษา นักวิชาการ ประสงค์ลงชื่อเพิ่มเติม สามารถร่วมลงชื่อได้ที่
midnightuniv(at)gmail.com
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
เป็นรากฐานสำคัญของสังคมประชาธิปไตย ในอันที่จะทำให้สังคมได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้
และถกเถียงกันอย่างเสมอภาค
บนรากฐานของเหตุผลและข้อเท็จจริง เพราะในสังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างซับซ้อน
และเต็มไปด้วยความหลากหลายนั้น
การมีความคิดเห็นแตกต่างกันเป็นเรื่องธรรมดา และจำเป็นที่ทุกฝ่ายต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากมุมมองที่แตกต่าง
หากยึดติดกับกรอบคิดที่คับแคบตายตัว จะทำให้มองเห็นทางเลือกในการแก้ปัญหาอย่างจำกัด
และยากจะปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลง จนอาจนำพาสังคมไทยไปสู่จุดวิกฤตที่หาทางออกไม่ได้ในที่สุด
เสรีภาพในแสดงความคิดเห็น
มิใช่เป็นเพียงการคุ้มครองสิทธิของปัจเจกบุคคล หากแต่เป็นการคุ้มครองสังคมมิให้ตกอยู่ในความมืดมิดทางปัญญา
ตลอดจนความกลัวในความเห็นที่แตกต่าง และความขลาดในการเรียนรู้
ด้วยเสรีภาพดังกล่าวนี้เท่านั้น ที่จะทำให้สังคมฉลาดและมีความรู้มากขึ้น มีศักยภาพในการปรับตัวมากขึ้น
และเป็นการเปิดโอกาสให้ฝ่ายต่างๆ ที่มีความคิดเห็นแตกต่าง สามารถต่อรองกันอย่างเสมอภาคและเป็นธรรมในระบอบประชาธิปไตย
โดยไม่มีกำปั้นใหญ่ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง คอยลงทัณฑ์ผู้ที่คิดเห็นแตกต่างออกไป
อันจะนำไปสู่ความรุนแรงและความแตกร้าวภายในสังคมมากยิ่งขึ้น
มีแต่ผู้ที่โง่เขลาเบาปัญญาและผู้ที่มัวเมาในอำนาจเท่านั้น
ที่พยายามปิดกั้นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจึงขอยืนยันในเสรีภาพนี้ และจะต่อสู้อย่างสันติ
จนกว่าการคุกคามหรือละเมิดต่อเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นอย่างไม่ชอบธรรมจะหมดไป
คณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
คลิกอ่านรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้
เชิญร่วมลงชื่อทางออนไลน์
ได้ที่: http://gopetition.com/online/19589.html
โครงการจับกระแสองค์การการค้าโลก
(WTO Watch) คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โดยได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนสนับสนุนการเผยแพร่เอกสารข่าว WTO Watch
เอกสารข่าวจากโครงการจับกระแสองค์การการค้าโลก
(WTO Watch) เป็นการนำเสนอข่าวและบทวิเคราะห์ในหัวข้อดังต่อไปนี้
(๑) องค์การการค้าโลก และการเจรจาการค้าพหุภาคีรอบโดฮา (๒) ข้อตกลงการค้าทวิภาคีและภูมิภาคี
และข้อตกลงเศรษฐกิจอื่นๆ
(๓) การค้าโลก (๔) ข้อพิพาทการค้า. โดยเอกสารข่าวจะเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์แห่งนี้เดือนละ
๒ เรื่องในสัปดาห์ที่สองและที่สี่ของเดือน
และยังนำเสนอเอกสารแนะนำหนังสือ WTO Watch ซึ่งจะเผยแพร่เป็นครั้งคราว ขึ้นอยู่กับหนังสือที่ออกจำหน่าย
เอกสารข่าว WTO Watch เริ่มเผยแพร่ครั้งแรกในเดือนมกราคม ๒๕๕๑ เป็นต้นมา สนใจคลิกอ่านรายละเอียดที่แบนเนอร์
เนื่องในวาระ ๒๐ ปี
ปาฐกถาพิเศษ ป๋วย อึ้งภากรณ์
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอนำเสนอ
หนังสือปกแข็งครบรอบ ๒๐ ปี ปาฐกถาอาจารย์ป๋วย อึ้งภากรณ์ เพื่อเผยแพร่ชื่อเสียงและเกียรติคุณบุคคลที่ควรยกย่องของสังคมไทย
โดยคณะเศรษฐศาสตร์ ร่วมกับ สำนักพิม์ openbook จัดพิมพ์
นักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจสามารถติดต่อได้ที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โทรศัพท์: 02-225-9578 (ดาราวรรณ รักษ์สันติกุล) โทรสาร: 02-224-9428
บทความล่าสุดของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ประจำเดือน เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๕๑
บริการฟรี เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงอุดมศึกษาได้โดยไม่ต้องมีค่าใช้จ่าย
นักวิชาการท่านใด ประสงค์นำเสนอบทความทางวิชาการบนสื่อแห่งนี้
สามารถส่งบทความมาได้ที่ midarticle(at)yahoo.com หรือ midnightuniv(at)gmail.com