B
หน้าสารบัญแต่ละหน้า จะบรรจุหัวข้อบทความจำนวน 200 บทความ : ขณะนี้ท่านกำลังอยู่ที่หน้าสารบัญ 8 (1400-1600)
H


The Midnight's homepage : http://midnightuniv.tumrai.com




มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า ๑,๔๐๐ เรื่อง หนากว่า ๒๘,๐๐๐ หน้า ในรูปของ CD-ROM
เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา ๑๕๐ บาท(รวมค่าส่ง) เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)gmail.com

1400. พระราชบัญญัติย้อนยุค: พรบ.ความมั่นคง - พรบ.ใครมั่นคง ? (ตอนที่ ๑) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1401. พระราชบัญญัติย้อนยุค: พรบ.ความมั่นคง - พรบ.ใครมั่นคง ? (ตอนที่ ๒) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1402. พระราชบัญญัติความมั่นคง ในมุมมองเชิงวิพากษ์ (ตอนที่ ๑) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1403. พระราชบัญญัติความมั่นคง ในมุมมองเชิงวิพากษ์ (ตอนที่ ๒) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1404. พระราชบัญญัติความมั่นคง ในมุมมองเชิงวิพากษ์ (ตอนที่ ๓) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1405. หลังการสังหารโหด: จากชเวดากองย้อนไปเทียนอันเหมิน (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1406. พม่าถอยหลัง: ๔๐ วันหลังเหตุการณ์กบฎผ้าเหลือง (สรุปข่าว ๑) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1407. พม่าถอยหลัง: ๔๐ วันหลังเหตุการณ์กบฎผ้าเหลือง (สรุปข่าว ๒) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1408. Pirate Radio: วิทยุโจรสลัด-วิทยุนอกชายขอบของกฎหมาย (สมเกียรติ ตั้งนโม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1409. The Ugly side of Beauty in Burma: ว่าด้วยสถานภาพของผู้หญิงในพม่า (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1410. วิทยุชุมชนอ่างทอง: การขึ้นศาลครั้งแรกของคดีวิทยุชุมชนประเทศไทย (มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม)

1411. ปัญหาภาคใต้: ข้อเสนอเชิงระบบเพื่อสันติภาพถาวร (วาระทางสังคม และมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1412. ตามรอยกฎหมายคุ้มครองและส่งเสริมสวัสดิภาพสัตว์ ในประเทศไทย (โกเมน สิมากร : เรียบเรียง)
1413. โลภะหรือเมตตาธรรม: เรื่องของโรคเอดส์ โลกของสิทธิบัตรปัญญาเสื่อม (กอง บก.มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1414. บทเรียนจากมาเลเซีย: กฎหมายความมั่นคงกับปัญหาสิทธิมนุษยชน (รศ.ดร.สุรชาติ บำรุงสุข : เขียน)
1415. เผาร่างพระราชบัญญัติความมั่นคงภายใน ทำไมจึงเผา ? (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
1416. ลืมเรื่องเก่าก็เผาเมือง: การเมืองการเสด็จประพาสยุโรป (กรณีอังกฤษ) (ฉลอง สุนทราวาณิชย์ : เขียน)
1417. ลืมเรื่องเก่าก็เผาเมือง: การเมืองการเสด็จประพาสยุโรป (กรณีฝรั่งเศส) (ฉลอง สุนทราวาณิชย์ : เขียน)
1418. สิทธิชุมชน: ชุมชนไม่มีสิทธิ์ (กรณีร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1419. มุมมองมุสลิมภาคใต้: สิ่งที่ได้รับจากมหกรรมสันติวิธี กรุงเทพฯ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1420. ลืมเรื่องเก่าก็เผาเมือง: ๑๐๘ ปีการทูตไทยกับสันติภาพโลก (ตอน ๑) (ฉลอง สุนทราวาณิชย์ : เขียน)

1421. ลืมเรื่องเก่าก็เผาเมือง: ๑๐๘ ปีการทูตไทยกับสันติภาพโลก (ตอน ๒) (ฉลอง สุนทราวาณิชย์ : เขียน)
1422. พม่ารำขวาน: นักข่าวพม่า การเซ็นเซอร์ และการฆ่าพระสงฆ์ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : บรรณาธิการ)
1423. สยามประเทศ: ทบทวนกฎหมายหมิ่นฯ อำนาจผ่านตำราและแผนที่คนไทย (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1424. ดับเครื่องชนประชาธิปไตย: กรณี คมช.จดหมายถึง กกต. (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวมรายงาน ๑๓ ชิ้น)
1425. วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์: ฉันคือหิ่งห้อยเรืองแสงยามมืดมิด (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
1426. Dual Power: อำนาจทวิลักษณ์ในการปฏิวัติของเวเนซุเอลา (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1427. Different Feminist Theories: ในความต่างของทฤษฎีสตรีนิยมทั้ง ๔ (ตอน ๑) (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์)
1428. Different Feminist Theories: ในความต่างของทฤษฎีสตรีนิยมทั้ง ๔ (ตอน ๒) (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์)
1428. Welfare State / Social Minimum: รัฐสวัสดิการ รัฐตู้กับข้าวของสังคม (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1429. Welfare State / Social Minimum: ทำไมต้องมีมาตรฐานขั้นต่ำทางสังคม (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1430. การละเมิดสิทธิมนุษยชนคนข้ามชาติจากประเทศพม่า ในประเทศไทย (๑) (Action Network for Migrants)

1431. การละเมิดสิทธิมนุษยชนคนข้ามชาติจากประเทศพม่า ในประเทศไทย (๒) (Action Network for Migrants)
1432. การปฏิเสธการเข้าถึงสิทธิการรับรู้ข่าวสารในประเทศพม่า (อัจฉรียา สายศิลป์ : นักวิชาการอิสระ)
1433. ต่อต้านและข้ามพันรัฐ: บทสัมภาษณ์จอห์น ฮอลโลเวย์ (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล - นักวิชาการอิสระ)
1434. ความพ่ายแพ้ของชาเวซ และวิกฤตข้าวโพคในเม็กซิโก (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1435. ประสบการณ์บังคลาเทศ: โลกาภิวัตน์ มาตรฐานแรงงาน และสิทธิสตรี (วรดุลย์ ตุลารักษ์ : เรียบเรียง)
1436. จากมาตรฐานสิทธิแรงงานหลัก ถึงการประกันสิทธิทางสังคม (วรดุลย์ ตุลารักษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1437. Interdisciplinarity: สหวิทยาการและความรู้เกี่ยวเนื่อง (สมเกียรติ ตั้งนโม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1438. รัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ กับการเมืองไทย (ตอนที่ ๑) (รองศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ)
1439. รัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ กับการเมืองไทย (ตอนที่ ๒) (รองศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ)
1440. ความแตกต่างของอิสลาม Modernism กับ Traditionalism ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ภัทรมน กาเหย็ม)

1441. การเมืองไทยจาก ๑๔ - ๖ ตุลาฯ: สองชาตินิยมชนกัน (รศ.ดร. เกษียร เตชะพีระ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1442. การศึกษาแนวคิดด้านเพศสภาพในกระบวนการยุติธรรมอาญาของญี่ปุ่น (ผศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล, มช.)
1443. การสวนกระแสตรรกะทุนนิยม: กิจการที่คนงานกอบกู้ในอาร์เจนตินา (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1444. สหวิทยาการของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน และแฟรงค์เฟริทสคูล (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1445. รายงาน: ปฏิบัติการของอำนาจผ่านตำรา ภาคปัจฉิมลิขิต (เคร็ก เจ เรย์โนลด์ส)(ตามไท ดิลกวิทยรัตน์ บรรณาธิการ)
1446. เหตุผลทางเศรษฐศาสตร์ที่สนับสนุนการมีมาตรฐานแรงงานสากล (๑) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล)
1447. เหตุผลทางเศรษฐศาสตร์ที่สนับสนุนการมีมาตรฐานแรงงานสากล (๒) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล)
1448. โลกตายหรือโลกเป็น: อำนาจของฟิสิกส์กับความดิบงามของธรรมชาติ (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปล)
1449. การประชุมนานาชาติ ว่าด้วยสังคมศาสตร์สหวิทยาการ 2008 (สมเกียรติ ตั้งนโม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1450. Enchanted World: โลกที่มีชีวิตอันชวนพิศวง โลกที่มีวิญญาน (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์, นักวิชาการอิสระ)

1451. การศึกษาในพม่า: หนังสือส่งต่อกันและบทเรียนในห้องน้ำ (อัจฉรียา สายศิลป์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1452. เศรษฐศาสตร์เพื่อคนจน: ต้นกล้าพลังงาน ภาษา และความสำเร็จ (เดชรัต สุขกำเนิด, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
1453. ประวัติความเป็นมาอันยืดยาวเกี่ยวกับเรื่อง: สิทธิมนุษยชน (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
1454. ๑๐๐ ปี: การปลูกฝังวิธีคิดสังคมและวัฒนธรรมไทย (พ.ศ.๒๔๓๕-๒๕๓๕) (รศ.สายชล สัตยานุรักษ์ : ผู้วิจัย)
1455. รัชกาลที่ ๕: การสร้างวิธีคิดเกี่ยวกับสังคม และวัฒนธรรมไทย (๑) (รองศาสตราจารย์ สายชล สัตยานุรักษ์)
1456. รัชกาลที่ ๕: การสร้างวิธีคิดเกี่ยวกับสังคม และวัฒนธรรมไทย (๒) (รองศาสตราจารย์ สายชล สัตยานุรักษ์)
1457. Class Politics: สังคมใหม่กับการเมืองเรื่องชนชั้นยุคโลกาภิวัตน์ (รศ.ดร.เกษียร เตชะพีระ : ให้สัมภาษณ์)
1458. ปาฐกถารำลึก: เรากำลังกลับไปเผชิญหน้ากับรัฐบาลที่ใช้ความรุนแรง (พระไพศาล วิสาโล : บรรยาย)
1459. ปาฐกถารำลึก: สังคมไทยต้องหลุดจากกับดักแห่งความรุนแรง (พระไพศาล วิสาโล : บรรยาย)
1460. ปาฐกถารำลึก: สังคมไทยกับการก้าวสู่วัฒนธรรมแห่งความสมานฉันท์ (พระไพศาล วิสาโล : บรรยาย)

1461. ฉลาดชาย รมิตานนท์ : สตรีศึกษาและสิทธิมนุษยชนในมุมต่าง (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: บรรณาธิการและเชิงอรรถ)
1462. โลกาภิวัตน์ล่าถอย: ไม่มีฉันทามติหลังฉันทามติวอชิงตัน (ภัควดี วีระภาสพงษ์: โครงการสื่อเพื่อสิทธิมนุษยชน)
1463. ปรัชญา สัญญาประชาคม และกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน (สมเกียรติ ตั้งนโม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1464. Same-Gender Marriage: การแต่งงานระหว่างเพศเดียวกัน (มุมมองจากยุโรป) (สมชาย ปรีชาศิลปกุล: แปล)
1465. Muhammad Yunus: ธนาคารกรามีน ธนาคารโลก และปัญหาคนยากจน (๑) (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปล)
1466. Muhammad Yunus: ธนาคารกรามีน ธนาคารโลก และปัญหาคนยากจน (๒) (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปล)
1467. ข้อห้ามและอคติทางเพศ: จากศาสนาสู่แนวคิดจิตเวชศาสตร์ (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปลและเรียบเรียง)
1468. จากเรื่องเพศในคริสตศตวรรษที่ ๑๙ ถึงข้อถกเถียงแนวคิดสตรีนิยม (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปล-เรียบเรียง)
1469. ย้อนอดีตทุนนิยมความรุนแรง: กรณีบรรษัทตะวันตก (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล และเรียบเรียง)
1470. Islam Hadhari: อิสลามอารยธรรมในสังคมมลายูมุสลิมมาเลเซีย (อับดุชชะกูร์ บิน ชาฟิอีย์ ดินอะ, เขียน)

1471. A World Without Islam : โลกไร้อิสลามจะหน้าตาอย่างไร? (สฤณี อาชวานันทกุล : แปลและเชิงอรรถ)
1472. สถานีโทรทัศน์ชุมชนในอาร์เจนตินา: หน้าต่างแห่งอิสรภาพ (ภัควดี วีระภาสพงษ์: โครงการเพื่อสิทธมนุษยชน)
1473. ธเนศ วงศ์ยานนาวา: ความรู้ต้อง(ไม่)ห้าม: จักรญาณนิยม (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: บรรณาธิการ)
1474. จากครรภ์มารดาสู่ครรภ์มารดา ถึงการเปิดกล่องแพนโดรา (ชลนภา อนุกูล และ ปกรณ์ เลิศเสถียรชัย)
1475. Public broadcasting: สื่อสาธารณะเพื่อสังคมวัฒนธรรม (วจี เรืองพรวิสุทธิ์: แปลและเรียบเรียง)
1476. Muhammad Yunus: จากลูกร้านอัญมณี ถึงผู้ร่วมปลดปล่อยบังคลาเทศ (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปล)
1477. Phenomenology: ๒๒ หน้า เกี่ยวกับปรากฏการณ์วิทยาเบื้องต้น (สมเกียรติ ตั้งนโม: แปลและเรียบเรียง)
1478. Phenomenology: ๒๒ หน้า กับภาคคำศัพท์ปรากฏการณ์วิทยา (สมเกียรติ ตั้งนโม: แปลและเรียบเรียง)
1479. Gramsci: แนวคิดการครองอำนาจนำและกลุ่มประวัติศาสตร์ (วัชรพล พุทธรักษา : มหาวิทยาลัยนเรศวร)
1480. Gramsci: การครองอำนาจนำผ่านนโยบายและการสร้างภาพของทักษิณ (วัชรพล พุทธรักษา: ม.นเรศวร)

1481. วิเคราะห์ขบวนการแรงงานฝรั่งเศส: Small Numbers, Big Power (วรดุลย์ ตุลารักษ์ : นักวิชาการอิสระ)
1482. Futurology & Future-Oriented Edcation: การศึกษามุ่งอนาคต (ดร. จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์ : เขียน)
1483. จากลัทธิเคนเชียนสู่ลัทธิเสรีนิยมใหม่: การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (ภัควดี วีระภาสพงษ์, นักวิชาการอิสระ)
1484. สหภาพแรงงานในยุคโลกาภิวัตน์: เปรียบเทียบ เอเชีย ยุโรป และสหรัฐฯ (วรดุลย์ ตุลารักษ์ : เรียบเรียง)
1485. รัชกาลที่ ๖: ปัญหาใหญ่ในการนิยามชาติไทยและความเป็นไทย (รองศาสตราจารย์ สายชล สัตยานุรักษ์, มช.)
1486. รัชกาลที่ ๖: การนิยามความหมายของ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ (รศ. สายชล สัตยานุรักษ์ : ผู้วิจัย)
1487. กุหลาบ สายประดิษฐ์ กับอุดมการณ์ปฏิวัติสยาม พ.ศ.๒๔๗๕ (๑) (ดร. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ : ผู้วิจัย)
1488. กุหลาบ สายประดิษฐ์ กับอุดมการณ์ปฏิวัติสยาม พ.ศ.๒๔๗๕ (๒) (ดร. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ : ผู้วิจัย)
1489. ข้อมูลดิบ ความคิด-ความเห็น เกี่ยวกับ ๖ ตุลานอกฤดูกาล (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1490. ๓ ความคิด: กับ ๖ ตุลาและพฤษภาเลือดนอกฤดูกาล (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1491. ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙: ความรุนแรงและรัฐประหาร (ป๋วย อี้งภากรณ์) (มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์ฯ)
1492. 1984 Rainbow Coalition: การรวมตัวของสายรุ้ง / คำปราศรัยของ Jesse Jackson (สมเกียรติ ตั้งนโม)
1493. Stateless Peoples: คนไร้รัฐในบริบทสังคมไทย (Benedict Anderson, 22 February 2008)
1494. โรคที่ถูกละเลย สงครามพลเรือน และสิทธิด้านสุขภาพ (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)
1495. ยุทธศาสตร์การอยู่รอดของแรงงานข้ามชาติจากประเทศพม่า (บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์ : ผู้วิจัย)
1496. Postcolonialism: ลัทธิหลังอาณานิคมและเชิงอรรถเบื้องต้น (สมเกียรติ ตั้งนโม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1497. เรื่องต้องรู้ของรัฐไทยในการแก้ปัญหาความรุนแรงภาคใต้ (ตอนที่ ๑) (ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี และคณะ)
1498. เรื่องต้องรู้ของรัฐไทยในการแก้ปัญหาความรุนแรงภาคใต้ (ตอนที่ ๒) (ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี และคณะ)
1499. เรื่องต้องรู้ของรัฐไทยในการแก้ปัญหาความรุนแรงภาคใต้ (ตอนที่ ๓) (ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี และคณะ)
1500. ความโกลาหลในประเทศเคนยา เบื้องหลังวิกฤตธนาคาร Northern Rock (นสพ.เลี้ยวซ้าย มีนาคม 51)

1501. กรณีศึกษาในบราซิล: กับดักของเชื้อเพลิงเกษตร ด้านมืดของเชื้อเพลิงชีวภาพ (ภัควดี วีระภาสพงษ์: แปล)
1502. สงครามวัฒนธรรม: อเมริกันและยุโรปมองโลกาภิวัฒน์อย่างไร? (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
1503. พุทธธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ พุทธธรรมในยุคหลังสมัยใหม่ (เสกสรรค์ ประเสริฐกุล : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1504. ร้อยวัน ร้อยความอาลัยแด่ วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1505. Global Justice: โลกายุติธรรม - เพื่อความยุติธรรมสากล (วจี เรืองพรวิสุทธิ์: แปลและเรียบเรียง)
1506. Stuart Hall: ความผิดปกติ การเมืองกระแสหลัก และสื่อ (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปลและเรียบเรียง)
1507. บทสะท้อนวันสตรีสากล: ว่าด้วยผู้หญิงกับความยากลำบากสากลต่อไป (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1508. หลากหลายชาติพันธุ์ในพม่า การเมือง และเรื่องแรงงานทาส (บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์ : ผู้วิจัย)
1509. ความตายของมดที่โรงพยาบาล ความตายของชาวบ้านที่บางสะพาน (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1510. ไชยันต์ รัชชกูล: รัฐประหารยังคงเกิดขึ้นได้ ถึงแนวคิดพหุนิยมของธีรยุทธ บุญมี (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1511. Orientalism(book) : ลัทธิบูรพนิยม(หนังสือ) โดยเอ็ดวาร์ด ซาอิด (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1512. คุกอินเส่ง: ภัตตาคารของคนจีน, รีสอร์ทของคนอินเดีย, นรกของชาวพม่า (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)
1513. อัตชีวประวัติปากเปล่า และความเหงาของอานันท์ กาญจนพันธุ์ (องอาจ เดชา : เรียบเรียง, ประชาไท)
1514. Privatizing Education: มหาวิทยาลัย 'แมคโดนัลดานุวัตร' (กรรณิการ์ กิจติเวชกุล : เรียบเรียง)
1515. Paul Wolfowitz: อดีตประธานธนาคารโลก และชนวนเหตุสงครามอิรัก (กรรณิการ์ กิจติเวชกุล : เรียบเรียง)
1516. Muhammad Yunus: มหาวิทยาลัยจิตตะก่อง และโครงการเกษตรสามส่วน (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปล)
1517. จากอุตสาหกรรมขยะ(โรงถลุงเหล็ก) ถึงรัฐธรรมนูญฉบับอุบาทวาธิปไตย (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1517-1. อรุณี ศรีโต - ปาฐกเจริญ วัดอักษรประจำปี ๒๕๕๐ (แถลงการณ์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1518. ร่างกายของสตรี: ความรุนแรง ความมั่นคง และศักยภาพ (สฤณี อาชวานันทกุล : เรียบเรียง)
1519. สารบัญ: เอกสารข่าว WTO Watch และแนะนำหนังสือเกี่ยวเนื่อง (เอกสารข่าว WTO Watch)
1520. สิทธิด้านเศรษฐกิจในกรอบการค้าโลก และโลกาภิวัตน์ ๖ เรื่อง (เอกสารข่าว WTO Watch)

1521. แนะนำวรรณกรรม: จากจุดจบแห่งจินตนาการ ถึงความเงียบ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1522. ย้อนรอยหนึ่งทศวรรษ WTO และวิกฤตซีแอตเทิลถึงแคนคูน (แนะนำหนังสือ WTO Watch)
1523. Muhammad Yunus: พ้นไปจากธนาคารในระบบและสินเชื่อเพียงผู้ชาย (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปล)
1524. กรมพระยาดำรงราชานุภาพ: มโนทัศน์ "เมืองไทยและความเป็นไทย" (ตอน ๑) (รศ.สายชล สัตยานุรักษ์)
1525. กรมพระยาดำรงราชานุภาพ: มโนทัศน์ "เมืองไทยและความเป็นไทย" (ตอน ๒) (รศ.สายชล สัตยานุรักษ์)
1526. ประวัติศาสตร์อันซับซ้อนและซ้อนทับของปาเลสไตน์ (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1527. ดินแดนปาเลสไตน์: ประวัติศาสตร์ความขัดแย้งปาเลสติเนียน (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1528. จากนักรบข้างถนนในเม็กซิโก ถึงขั้วอำนาจใหม่ท้าทายอเมริกัน (ภัควดี วีระภาสพงษ์: แปล)
1529. Heterodox Economics: ทางเลือกที่พ้นไปจากเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (พิกุล อิทธิหิรัญวงศ์ : แปล)
1530. Heterodox Economics: เศรษฐศาสตร์ที่ปฏิเสธหลักการนีโอคลาสสิค (พิกุล อิทธิหิรัญวงศ์ - สมเกียรติ ตั้งนโม)

1531. วิเคราะห์ภาพยนตร์สงคราม(นิยม) และภาพยนตร์ต่อต้านสงคราม (๑) (จักริน วิภาสวัชรโยธิน : แปล)
1532. วิเคราะห์ภาพยนตร์สงคราม(นิยม) และภาพยนตร์ต่อต้านสงคราม (๒) (จักริน วิภาสวัชรโยธิน : แปล)
1533. แมลงวันในจานปูของหูจิ่นเทา จดหมายจากทิเบต และบทสัมภาษณ์ ส.ศิวรักษ์ (กองบรรณาธิการฯ ม.เที่ยงคืน)
1534. สิทธิมนุษยชนคนนอกรัฐ: สิทธิความตายบนท้องถนนและห้องเย็น (๕๔ ศพ) (กองบรรณาธิการ ม. เที่ยงคืน)
1535. บทสัมภาษณ์: เสนอร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี ๕๑ ตัดวงจรอุบาทวาธิปไตย (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1536. คำถามใหม่ๆ เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนบนสื่อใหม่และโลกดิจิตอล (๑) (สุภัตรา ภูมิประภาส : แปลและเรียบเรียง)
1537. คำถามใหม่ๆ เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนบนสื่อใหม่และโลกดิจิตอล (๒) (สุภัตรา ภูมิประภาส : แปลและเรียบเรียง)
1538. หลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญว่าด้วย พหุนิยมทางศาสนาในสหรัฐอเมริกา (รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล : แปลและเรียบเรียง)
1539. การคุ้มครองลิขสิทธิ์ และข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ตามกฎหมายไทย (๑) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1540. การคุ้มครองลิขสิทธิ์ และข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ตามกฎหมายไทย (๒) (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1541. พัฒนาการคู่ขนานระหว่างทุนนิยมและอัตลักษณ์ของเกย์-เลสเบียน (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปลและเรียบเรียง)
1542. โจทย์เพื่อการวิจัย: ประเด็นกฎหมายกับการแก้ปัญหาความยากจน (๑) (ไพสิฐ พาณิชย์กุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1543. โจทย์เพื่อการวิจัย: ประเด็นกฎหมายกับการแก้ปัญหาความยากจน (๒) (ไพสิฐ พาณิชย์กุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1544. The Hidden Power: สงครามความคิด-การต่อสู้ยืดเยื้อทางทิศใต้ (๑) (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ DSW)
1545. The Hidden Power: สงครามความคิด-การต่อสู้ยืดเยื้อทางทิศใต้ (๒) (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ DSW)
1546. สิงคโปร์กับเส้นทางข้อตกลงการค้าเสรี - G20 กับการเจรจารอบโดฮา (เอกสารข่าว WTO Watch)
1546. แผนกองทุนบำนาญระดับโลก : หลักประกันผู้สูงอายุในยุคโลกาภิวัตน์ (๑) (ภัควดี วีระภาสพงษ์, แปล)
1547. แผนกองทุนบำนาญระดับโลก : หลักประกันผู้สูงอายุในยุคโลกาภิวัตน์ (๒) (ภัควดี วีระภาสพงษ์, แปล)
1548. ธรรมนูญอุดมศึกษาอินเดียหลังอาณานิคม (ดร.ประมวล เพ็งจันทร์ และสมปอง เพ็งจันทร์ : เขียน)
1549. สังคมนิยม วันกรรมกรสากล คาร์บอนเครดิต และวิกฤตอาหารโลก (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1550. แนะนำหนังสือ: Empire ประวัติอันโตนิโอ เนกรี และเชิงอรรถ (สมเกียรติ ตั้งนโม: แปลและเรียบเรียง)

1551. บทวิเคราะห์ย้อนรอย สถานการณ์ภาคใต้ยุครัฐประหาร (๑๙ กันยา) (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ DSW)
1552. เพศ(sex)ไม่มีประวัติศาสตร์ แต่เพศวิถี(sexuality)มีประวัติศาสตร์ (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1553. ประหารเมล็ดพันธุ์เพชฌฆาต (จีเอ็มโอ): ขจัดลัทธิอาณานิคมชีวภาพ (๑) (ภัควดี วีระภาสพงษ์, แปล)
1554. ประหารเมล็ดพันธุ์เพชฌฆาต (จีเอ็มโอ): ขจัดลัทธิอาณานิคมชีวภาพ (๒) (ภัควดี วีระภาสพงษ์, แปล)
1555. ภาคเหนือ: ภายหลังนโยบายรัฐพัฒนา และทุนนิยมบุกรุก (๑) (ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช)
1556. ภาคเหนือ: ภายหลังนโยบายรัฐพัฒนา และทุนนิยมบุกรุก (๒) (ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช)
1557. ภาคใต้: วิหารแห่งสันติภาพ และการเจรจาระหว่างพูโลกับรัฐบาลไทย (กอง บก.มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1558. ๒๑ วันอันตราย: ปาก(กา)ฆ่าความสงบ สงครามชิงพื้นที่ความจงรักภักดี (๑) (สมเกียรติ ตั้งนโม: รวบรวมและคำนำ)
1559. ๒๑ วันอันตราย: ปาก(กา)ฆ่าความสงบ สงครามชิงพื้นที่ความจงรักภักดี (๒) (สมเกียรติ ตั้งนโม: รวบรวมและคำนำ)
1560. ๒๑ วันอันตราย: ปาก(กา)ฆ่าความสงบ สงครามชิงพื้นที่ความจงรักภักดี (๓) (สมเกียรติ ตั้งนโม: รวบรวมและคำนำ)

1561. ๒๑ วันอันตราย: ปาก(กา)ฆ่าความสงบ สงครามชิงพื้นที่ความจงรักภักดี (๔) (สมเกียรติ ตั้งนโม: รวบรวมและคำนำ)
1562. Judith Butler: เมื่อฉันแสดงตัวเป็นเลสเบี้ยน-รักต่างเพศไม่ใช่ต้นแบบ (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปล)
1563. เวทีระดับภูมิภาคเพื่อสนับสนุนเสรีภาพสื่อ: กรณีอินโดนีเซีย (สุภัตรา ภูมิประภาส : แปลและเรียบเรียง)
1564. สื่ออินโดนิเซีย: แสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ / สื่อฟิลิปปินส์กับความรุนแรง (สุภัตรา ภูมิประภาส : แปลและเรียบเรียง)
1565. ๖๐ ปีแห่งคำโกหกของอิสราเอล ๖๐ ปีแห่งความปวดร้าวของปาเลสไตน์ (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน, เรียบเรียง)
1566. มหาวิทยาลัยอินเดียกับการเมือง การเงิน การศาสนาและสังคม (ดร.ประมวล เพ็งจันทร์ และสมปอง เพ็งจันทร์)

1567. ผลผลิตและผลกระทบของอุดมศึกษาอินเดีย มหาวิทยาลัยกับชาวบ้าน (ดร.ประมวล เพ็งจันทร์ และสมปอง เพ็งจันทร์)
1568. สารพัดโรคความรุนแรงในสังคม จากเรื่องเพศถึงมายาคติเรื่องยาเสพติด (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน, รวบรวม)
1569. แถลงการณ์ ๑๓๗ นักวิชาการ ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ไปให้พ้นการเมืองแบบ ๒ ขั้ว (กอง บก.ม.เที่ยงคืน)
1570. แนะนำหนังสือ : การเจรจารอบโดฮาให้ประโยชน์แก่ประเทศด้อยพัฒนาจริงหรือ? (ศ. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์)

1571. บทนำ: ว่าด้วยอภิจักรภพยุคหลังสมัยใหม่ (Preface: Empire) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1572. เราจะฝ่าความขัดแย้งทางการเมืองไปได้อย่างไร? (ตอนที่ ๑) (รศ.ดร. เกษียร เตชะพีระ : ให้สัมภาษณ์ สารคดี)
1573. เราจะฝ่าความขัดแย้งทางการเมืองไปได้อย่างไร? (ตอนที่ ๒) (รศ.ดร. เกษียร เตชะพีระ : ให้สัมภาษณ์ สารคดี)

1574. สื่อ กับกฎหมายหมิ่นประมาทในติมอร์ตะวันออก และกัมพูชา (สุภัตรา ภูมิประภาส : แปลและเรียบเรียง)
1575. เราจะฝ่าความขัดแย้งในสังคมไปได้อย่างไร - เมื่อปืนใหญ่ 2 กระบอกยิงใส่กัน (กอง บก. ม.เที่ยงคืน)
1576. อภิจักรภพ โลกาภิวัตน์ และประชาธิปไตย (Empire and Multitude) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล-เรียบเรียง)
1577. ตาบอดคลำช้าง เห็นต่างคือศัตรู - ลิเกอภิสิทธิ์ชน ที่สะพานมัฆวานฯ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1578. สื่อกับกฎหมายหมิ่นประมาทในประเทศมาเลเซีย (สุภัตรา ภูมิประภาส : แปลและเรียบเรียง)
1579. สถานะเสรีภาพสื่อในออสเตรเลีย - ณ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๑ (สุภัตรา ภูมิประภาส : แปลและเรียบเรียง)
1580. ความเป็นพลเมืองแบบลื่นไหลในยุคโลกาภิวัตน์ (รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

1581. พลังงานทางเลือก กับนิทานเรื่อง"ถ่านหินสะอาด"ในสังคมไทย (ดร.เดชรัต สุขกำเนิด, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
1582. น้ำมันแพง เชอร์โนบิล และระบบไฟฟ้าประเทศเดนมาร์ก (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1583. กำไรบนคาบเลือดอิรัก: WAR FOR ALL, WAR FOR MONEY (กรรณิการ์ กิจติเวชกุล : แปลและเรียบเรียง)
1584. WAR GAME: นรกบันเทิง จากกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ (กรรณิการ์ กิจติเวชกุล : แปลและเรียบเรียง)
1585. แนะนำหนังสือ: การแบ่งขั้วเทียมและมติมหาชนในจินตนาการ (ประจักษ์ ก้องกีรติ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1586. ปัญหาที่อยู่ใต้พรมในการอุดมศึกษาของอินเดีย ตอนที่ ๑ (ดร.ประมวลเพ็งจันทร์ และ ผศ.สมปอง เพ็งจันทร์)
1587. ปัญหาที่อยู่ใต้พรมในการอุดมศึกษาของอินเดีย ตอนที่ ๒ (ดร.ประมวลเพ็งจันทร์ และ ผศ.สมปอง เพ็งจันทร์)
1588. สงครามเนื้อวัวสหรัฐฯ กับเกาหลีใต้: สัญญานอันตรายตั้งแต่ปีกลาย (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : เรียบเรียง)
1589. Global Tastes: อาหารท้องถิ่นก็แค่โวหาร หากไม่พัฒนาให้เป็นการเมือง (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล)
1590. ชีวประวัติการอภิวัตน์กับระบอบรัฐธรรมนูญสยาม ๒๔๗๕ (ตอนที่ ๑) (ดร.บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ : ผู้วิจัย)

1591. ชีวประวัติการอภิวัตน์กับระบอบรัฐธรรมนูญสยาม ๒๔๗๕ (ตอนที่ ๒) (ดร.บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ : ผู้วิจัย)
1592. FOOD POLITICS: การเมืองเรื่องอาหาร (จากประเทศจนถึงประเทศรวย) (กรรณิการ์ กิจติเวชกุล : เรียบเรียง)
1593. Selfish - Symbiosis: จากยีนเห็นแก่ตัว ถึงสัมพันธภาพแบบอิงอาศัย (กอง บก.มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1594. โลกาภิวัตน์จากข้างล่าง: ฟูโกต์, บูร์ดิเยอ, และอัปปาดูรัย (บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์ : ผู้วิจัย)
1595. จักรวรรดิและมหาชน: บทสนทนาระเบียบโลกใหม่ยุคโลกาภิวัตน์ (ตอน ๑) (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเชิงอรรถ)
1596. จักรวรรดิและมหาชน: บทสนทนาระเบียบโลกใหม่ยุคโลกาภิวัตน์ (ตอน ๒) (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเชิงอรรถ)
1597. สองลิ้นรสเศรษฐศาสตร์การเมือง: ว่าด้วยเรื่องของ โจเซฟ สติกลิตซ์ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1598. กระบวนการสร้างพื้นที่: ภูมิศาสตร์เชิงมาร์กซิสต์ และทฤษฏีสังคมเชิงวิพากษ์ (๑) (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปล)
1599. กระบวนการสร้างพื้นที่: ภูมิศาสตร์เชิงมาร์กซิสต์ และทฤษฏีสังคมเชิงวิพากษ์ (๒) (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปล)
1600. ปราสาทพระวิหารเชิงวิพากษ์ แนวพินิจศาลปกครองไทย (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
900. สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง (สมเกียรติ ตั้งนโม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

คลิกต่อไปหน้าสารบัญเก้า

ขณะนี้นักศึกษา สมาชิก และผู้อ่านกำลังอยู่ที่หน้าสารบัญที่ 8
ลำดับบทความจาก 1400 -1600

สารบัญ ๑ next (บทความ 001-200)
สารบัญ ๒ next (บทความ 200-400)
สารบัญ ๓ next (บทความ 400-600)
สารบัญ ๔ next (บทความ 600-800)

สารบัญ ๕ next (บทความ 800-999)
สารบัญ ๖ next (บทความ 1000-1200)
สารบัญ ๗ next (บทความ 1200-1400)
คลิกต่อไปหน้าสารบัญเก้า



สนใจข้อมูลสาธารณะที่ส่งมาจากองค์กรต่างๆ คลิกไปดูได้ที่ป้ายข้างบน
เพื่อไปยังหน้า"สารบัญข้อมูล-จากองค์กรต่างๆ"

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า 1,600 เรื่อง หนากว่า 32,000 หน้า
ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง)
เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า สนใจสั่งซื้อได้ที่
midnightuniv(at)gmail.com
ส่งธนาณัติถึง
สมเกียรติ ตั้งนโม : ไปรษณีย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 50202
สมเกียรติ ตั้งนโม : คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนนสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50202
(หมายเหตุ : กรณีสั่งซื้อแผ่น CD-ROM จากต่างประเทศ ราคา 250 บาท รวมค่าจัดส่ง)
คลิกอ่านรายละเอียดที่กระดานข่าว ม.เที่ยงคืน

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา 1I สารบัญเนื้อหา 2 I สารบัญเนื้อหา 3
สารบัญเนื้อหา 4 I สารบัญเนื้อหา 5 I สารบัญเนื้อหา 6 I
สารบัญเนื้อหา 7 I สารบัญเนื้อหา 9
ประวัติ ม.เที่ยงคืน

webboard(1) I webboard(2)

e-mail : midnightuniv(at)gmail.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

สมเกียรติ ตั้งนโม และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
(บรรณาธิการเว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
หากสมาชิก ผู้สนใจ และองค์กรใด ประสงค์จะสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ชุมชน และสังคมไทยของเวบ็ปไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน สามารถให้การสนับสนุนได้ที่บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ในนาม สมเกียรติ ตั้งนโม หมายเลขบัญชี xxx-x-xxxxx-x ธนาคารกรุงไทยฯ สำนักงานถนนสุเทพ
อ.เมือง จ.เชียงใหม่ หรือติดต่อมาที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com

ข้อความใดๆก็ตามที่ปรากฏบนเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เป็นของเจ้าของชื่อ หรือนามแฝง หรือ IP ของผู้นั้น
ซึ่งไม่อยู่ในวิสัยความรับผิดชอบโดยตรงของบรรณาธิการเว็บไซต์นี้
หากพบข้อความใดบนเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนที่หมิ่นประมาท หรือล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ชุมชน และสังคม
กรุณาแจ้งให้ทราบ เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขโดยเร็วที่สุด
(หากพบข้อความดังกล่าว กรุณาแจ้งให้ทราบที่ midnightuniv(at)gmail.com)

ถ้อยแถลง
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า 1600 เรื่อง หนากว่า 32000 หน้า ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง) เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com

 

 

เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน สร้างขึ้นมาเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถเข้าถึงอุดมศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเรียนผ่านระบบการศึกษาที่เป็นทางการ
หน้าสารบัญบทความ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ตั้งแต่ลำดับที่ 1400 - 1600 : เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2550 : ขึ้นปีที่ 8 (พศ. 2543 - พศ.2551)
The Alternative higher education : 2000-2008

กลับไปหน้าสารบัญห้า
กลับไปหน้าสารบัญหก
กลับไปหน้าสารบัญเจ็ด
คลิกต่อไปหน้าสารบัญเก้า

กลับไปหน้าสารบัญหนึ่ง
กลับไปหน้าสารบัญสอง
กลับไปหน้าสารบัญสาม
กลับไปหน้าสารบัญสี่