มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนร่วมกับมูลนิธิไฮน์ริคเบิลล์ เปิดชั้นเรียนฟรีสำหรับผู้สนใจ
เพื่อศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับวิถีมลายูมุสลิมอย่างรอบด้าน
ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
อันจะนำไปสู่ความเข้าใจกันอย่างลึกซึ้ง
ทุกเสาร์-อาทิตย์ ตั้งแต่ต้นถึงปลายเดือนมกราคม
เวลา ๑๔.๐๐-๑๗.๐๐ น.
สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ซอยโรงแรมเชียงใหม่ภูคำ จ.เชียงใหม่
สำหรับผู้สนใจ สามารถแจ้งความประสงค์ไปที่
midnightuniv(at)yahoo.com
The Midnight University
หลักสูตรเรียนรู้เพื่อความสว่างจากแสงแรกยามเที่ยงคืน
หลักสูตรเรียนรู้มลายูศึกษาเพื่อความสมานฉันท์
จัดโดย
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สนับสนุนโดย มูลนิธิไฮน์ริคเบิลล์
ณ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ซ.ห้วยแก้ว 3 เชียงใหม่
(เข้าซอยข้างโรงแรมเชียงใหม่ภูคำ)
เวลา
๑๔.๐๐-๑๗.๐๐ น. ทุกเสาร์-อาทิตย์ ตลอดเดือนมกราคม ๔๙
นำบรรยายโดยนักวิชาการมลายูศึกษาจากทั่วประเทศ
(บทความเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา)
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 784
เผยแพร่บนเว็ปไซต์นี้ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๘
(บทความทั้งหมดยาวประมาณ
5.5 หน้ากระดาษ A4)
หัวข้อบรรยายหลักสูตรมลายูศึกษา
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน (midnightuniv.org)
เสาร์ 7 มกราคม 2549 ประวัติศาสตร์ลังกาสุกะและปัตตานี โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์
๐ โลกของชาวมลายู
๐ Polity ของรัฐมลายู , ชาวนาและการค้าทางทะเล
๐ ลังกาสุกะในศรีวิชัย
๐ การเข้ามาของอิสลาม , ราชวงศ์ศรีวังษา ,ศูนย์กลางการค้า , และความสัมพันธ์กับรัฐอื่น
๐ ราชวงศ์กลันตันและการเสื่อมอำนาจ , การผนวกเข้าสู่รัฐสยามจนเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรไทย
๐ สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมภายใต้รัฐไทย
๐ บทบาทของชนชั้นนำตามจารีต ในการต่อต้านอำนาจรัฐไทย
อาทิตย์ 8 มกราคม 2549 สังคมและวัฒนธรรมมลายู โดย ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ
๐ อิสลาม
๐ ครอบครัว
๐ โครงสร้างความสัมพันธ์ในกำปง
๐ การศึกษา
๐ ผู้หญิง
๐ ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและกำปง
๐ ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจเหนือกำปง (รัฐ ,โจรจีน ,กลุ่มติดอาวุธ) และกำปง
เสาร์ 14 มกราคม 2549
วรรณคดีมลายู โดย รัติยา สาและ
๐ ภาษามลายูปัตตานี , อักษรยาวี
๐ วรรณคดีเชิงประวัติศาสตร์
๐ วรรณคดีเชิงศาสนา
๐ วรรณคดีประโลมโลกย์
๐ วรรณคดีมุขปาฐะ
๐ การสร้างสรรค์วรรณกรรมในปัจจุบัน
๐ ภาษามลายูท้องถิ่นและอนาคต
อาทิตย์ 15 มกราคม 2549
ชาวมลายูภายใต้นโยบายพัฒนาของไทย โดย ปิยะ กิจถาวร
๐ ผลกระทบของนโยบายพัฒนาที่เกิดจากโครงการของรัฐ ต่อประชาชนในแต่ละช่วง ( ก่อน 2525 และหลัง 2525 เป็นต้น)
๐ การเข้ามาของทุนและผลกระทบต่อประชาชน
๐ การช่วงชิงทรัพยากร
๐ การตอบสนองของประชาชน การปรับตัว , การต่อต้าน
เสาร์ 21 มกราคม 2549
ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของชาวมลายู โดย
พีรยศ ราฮิมมูลา
๐ ในระบบ (รวมถึงประชาชนทั่วไป เช่น การสมัครเป็นทหาร ตำรวจ หรือเป็นทนายความ ฯ)
๐ นอกระบบ ที่สัมพันธ์กับชนชั้นนำตามจารีต
๐ นอกระบบ ที่สัมพันธ์กับประชาชนทั่วไป , ขบวนการต่างๆ
๐ การตอบโต้ของรัฐไทย
๐ ชะตากรรมของประชาชนในสถานการณ์"สงคราม"
อาทิตย์ 22 มกราคม 2549
สถานการณ์ทางการเมืองในปัจจุบันและความเป็นไปได้ในอนาคต
โดย เกษียร เตชะพีระ
๐ ทฤษฎีที่เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน
๐ โครงสร้างและสันติสุขที่เป็นไปได้ ( เช่น ระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ กับการพัฒนาทางการเมือง )
หมายเหตุ
* มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ใคร่ขอให้ผู้เข้าร่วมเตรียมตัวโดยการอ่าน Reading list
ที่จะแนะนำใน โอกาสต่อไป เพื่อจะได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีเอกสารอ้างอิง
* รายละเอียดเพิ่มเติมสอบถามได้จาก สุชาดา 01 - 5685113
หรือติดตามจาก www. midnightuniv .org
จากสารานุกรมมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
Southern Thailand (ดูคำว่า Malay Muslim ประกอบ) (ตรวจสอบกับคำว่า Violent, violence)
- กรณีความรุนแรงที่ตากใบ เราเรียนรู้อะไรจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
- กรณีภาคใต้ของไทยในหนังสือพิมพ์ The Times ของอังกฤษ
- กระบวนการประชาธิปไตยกับการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
- การดำเนินกระบวนยุติธรรมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ : ปัญหาและแนวทางแก้ไข
- การสร้างปีศาจวิทยาแห่งการก่อการร้าย
- เก็บถ้อยร้อยความบางคนบนเวทีสาธารณะ (สถานการณ์ภาคใต้ อะไรคือปัญหา อะไรคือทางออก?)
- เกษียรเขียนอธิบาย : การเมืองเรื่องทางใต้
- ขอดวงวิญญาณนักสู้เพื่อสันติทั้งสองจงไปสู่สุคติ
- ข้อเสนอทางการเมืองเกี่ยวกับสถานการณ์ภาคใต้
- ไข้หวัดนก กรณีตากใบ และคนเดือนตุลา
- ความเกลียดชังทางโครงสร้างที่อันตราย
- ความมั่นคงของมนุษย์ในทัศนะอิสลาม
- ความมั่นคงของรัฐ ไม่ใช่แค่การสบถและเข่นฆ่า
- ความรุนแรงในคัมภีร์อัลกุรอานและคัมภีร์ไบเบิล
- คืนคุณธรรมไทย-อย่าทำลายความไว้วางใจ
- คืนประชาสังคมให้คนไทยมุสลิม
- คำกล่าวตอบรับรางวัลโดย จอน อึ๊งภากรณ์ ผู้รับรางวัลรามอน แมกไซไซ
- คำวิงวอน ให้ยุติการใช้ความรุนแรงภาคใต้
- โครงการสัมมนาวิชาการ ปัญหาชายแดนภาคใต้ : มุมมองวิชาการ
- จาก: ถีบลงเขาเผาลงถัง ถึง กรณีกรือเซะและตากใบ
- จากนกที่โบยบิน ถึง ถนนราชดำเนินใต้ดิน
- จากปากคำผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ กรณีตากใบ
- จากกรณีกรือเซะถึงกรณีตากใบ
- โจรสลัดทรัพยากร: ต้นตอของปัญหาชายแดนใต้
- ชัยชนะของประชาชน ศาลยกฟ้องม็อบท่อก๊าซ เหยื่ออำนาจรัฐที่หาดใหญ่
- ตะปูตำเท้าบนก้าวย่างนโยบายความสมานฉันท์
- ถือหลายสัญชาติ : เป็นภัยต่อรัฐจริงหรือ? ผิดกฎหมายจริงหรือ?
- แถลงการณ์กรณีความรุนแรงที่ตากใบ
- แถลงการณ์จากนักศึกษาและนักวิชาการผู้สนใจเรื่องเมืองไทย (กรณีตากใบ จากกลุ่มเพื่อนไทยฯ)
- แถลงการณ์ ๑๔๔ นักวิชาการ กรณีเหตุการณ์ที่ตากใบ
- ทวงคืนความมั่นคงจากทหาร - สึนามิกับเฮอร์ริเคน
- ทำความเข้าใจปริศนาแนวคิดสมานฉันท์
- ไทย-มาเลย์ และปัญหาความขัดแย้งชายแดนใต้
- นิเวศน์ชาตินิยมปะทะนิเวศน์ชาติพันธุ์
- แนวทางของการสมานฉันท์ฉบับ 'สุลักษณ์ ศิวรักษ์'
- ประวัติศาสตร์บาดแผล สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
- ประวัติศาสตร์แห่งการลวง กรณีเกี่ยวกับปัตตานี
- ปัญหาการต่อสู้ของขบวนการปลดปล่อยปาตานี
- พระเอกบนหลังม้าแกลบกับเศรษฐีใหม่
- พูดกันคนละเรื่อง - เอกภาพทางความคิด (ประเวศ วะสี : ดับไฟใต้ สร้างเงื่อนไขการวางอาวุธ ร่วมทำพันธะสัญญาทางสังคม)
- มองการเมืองไทยผ่านมุมสังคมและวัฒนธรรม (สื่อกับทางเลือกที่สาม)
- มองสถานการณ์ภาคใต้ผ่านแว่น "กบฏชาวนา"
- มองสถานการณ์ภาคใต้ผ่านสายตาของนิธิ (1) ประกอบด้วย 4 เรื่อง 1. มาซุกยาวี,
2. Negeri Siam Ini Adalah Gelanggang Seperjuangan ประเทศไทยนี่แหละคือเวทีการต่อสู้ร่วมกัน, 3. ปอเนาะ, 4. กรือเซะ
- มองสถานการณ์ภาคใต้ผ่านสายตาของนิธิ (2) ประกอบด้วย 5 เรื่อง 5.จากอาบูฆราอิบ ถึง กรือเซะ, 6. จากชาติสู่ประชาชาติ, 7. ความไม่รู้ที่ขาดหายไป, 8. บิดเบือนคำสอน, 9. ที่ลึกกว่า"แยกดินแดน"
- ยุบกรรมการสมานฉันท์ : เปิดใจเจ้าคณะจังหวัดปัตตานี
- รัฐศาสตร์ไทยกับประชาชนชายขอบ : บทสัมภาษณ์ ดร.วัน กาดีร์ เจ๊ะมัน ประธานเบอร์ซาตู
- เรื่องที่โจรใต้เข้าใจ...แต่นายกฯทักษิณไม่เข้าใจ
- โลกมุสลิม ทุนนิยม และอาณานิคมเชิงซ้อน
- วิจารณ์ศาสนิกตนเองจุดเริ่มของการแก้ปัญหาไฟใต้
- วิลลี บรันด์-หมอป่วย-ตากใบและ บก.ฟ้าเดียวกัน
- สงครามทรัพยากร : การก่อการร้ายทำลายการเมืองภาคประชาชน
- สงครามมุสลิมอัลจีเรีย ภาพรำไรเมืองใต้ไทย
- สนามรบที่ไม่ต้องการความห้าว
- สมานฉันท์ ปักษ์ใต้ และน้ำมันดีเซล
- สองมุมมองของความดี กรณีการถือศีลอด
- สันติวิธีมิใช่ไม่สูญเสีย และสูญเสียมิใช่พ่ายแพ้
- สร้างสันติภาพใหม่ในสังคมการเมือง กรณีความรุนแรงทางใต้ในบริบทโลก
- สังคมนิติรัฐได้ผลกว่ากระแสพับนกกระดาษ
- เสียงจากมุสลิมภาคใต้ กรณีเกี่ยวกับการพัฒนา
- สังคม-สงคราม : ว่าด้วยเรื่องของความรุนแรง
- หรือเราควรจะตั้งคำถามเกี่ยวกับปัญหาภาคใต้กันใหม่?
- หลักนิติธรรมและความยุติธรรมชายแดนใต้
- อรรถาธิบายเกี่ยวกับปอเนาะ ยุบปอเนาะ - ดับหรือราดน้ำมันใส่ไฟใต้
- อันตรายจากลัทธิชาตินิยมไทย (กรณีเหตุการณ์ที่ปัตตานี)
- เอาแค้นมาดับแค้น คนหมื่นแสนจึงโศกศัลย์ (บทกวีตากใบ)
- เฮาะออแรฆามา พื้นที่สาธารณะที่ถูกเหยียบย่ำ
- Centralism กับการเหยียบย่ำวัฒนธรรมมุสลิม
- Pemuda - ขบวนการคนหนุ่ม
- 3R กับการฝ่าข้ามกำแพงไปเพื่อสันติภาพ
บทความที่นำเสนอก่อนหน้านี้ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
หากนักศึกษาและสมาชิกท่านใตสนใจ
สามารถคลิกไปอ่านได้จากที่นี่...คลิกที่ภาพ
ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา 1I สารบัญเนื้อหา 2 I
สารบัญเนื้อหา 3 I สารบัญเนื้อหา
4
ประวัติ
ม.เที่ยงคืน
สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง
e-mail :
midnightuniv(at)yahoo.com
หากประสบปัญหาการส่ง
e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com
ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็ปไซคทั้งหมด
กว่า 760 เรื่อง หนากว่า 11000 หน้า
ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง)
(เริ่มปรับราคาตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2548)
เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ
midnight2545(at)yahoo.com
สมเกียรติ
ตั้งนโม และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
(บรรณาธิการเว็ปไซค์ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
หากสมาชิก ผู้สนใจ และองค์กรใด ประสงค์จะสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ชุมชน
และสังคมไทยสามารถให้การสนับสนุนได้ที่บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ในนาม สมเกียรติ
ตั้งนโม
หมายเลขบัญชี xxx-x-xxxxx-x ธนาคารกรุงไทยฯ สำนักงานถนนสุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
หรือติดต่อมาที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com