อุตสาหกรรมวัฒนธรรม โดย เธียวดอร์ อะดอร์โน (1903 - 1969)
H
N
back
home
next
page
16 09
2544

THE CULTURE INDUSTRY: ENLIGHTENMENT AS MASS DECEPTION (from Dialectic of Enlightenment)
ภาพประกอบจากนิตยสาร TIME ฉบับ Artists & Entertainers of the Century 100 / ฉบับ June 8,1998 / ชื่อภาพ The Writer : James Joyce

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ


Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ

สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิกที่ปุ่ม member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ปุ่ม contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard

หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
(midnightuniv(at)yahoo.com)

บทความนี้ยาวประมาณ 14 หน้า / หากประสบปัญหาภาพและตัวหนังสือซ้อนกัน กรุณาลดขนาดของ font ลง
CP
MP
WB
contents
member
webboard

ศัพท์คำว่า อุตสาหกรรมวัฒนธรรม(culture industry) ถูกนำมาใช้ครั้งแรกในหนังสือชื่อ Dialectic of Enlightenment, ซึ่ง Horkheimer และ Adorno ได้พิมพ์ขึ้นในอัมสเตอร์ดัม ในปี 1947. ในฉบับร่างของพวกเขา เขาได้พูดคุยถึงเรื่องเกี่ยวกับ"วัฒนธรรมมวลชน"(mass culture) และพวกเขาแทนคำ"วัฒนธรรมมวลชน"นี้ด้วยคำว่า "อุตสาหกรรมวัฒนธรรม" ทั้งนี้เพื่อที่จะแยกมันออกมาจากบรรดาผู้ที่เห็นด้วย หรือสนับสนุนเรื่องของ"วัฒนธรรมมวลชน"นั่นเอง:

ดังนั้น ความหมายของสองคำนี้ จึงแตกต่างกันอย่างสุดขั้ว
ใน"อุตสาหกรรมวัฒนธรรม"ผู้บริโภคไม่ใช่ราชา ดังที่พวกนั้นจะทำให้เราเชื่อ มวลชนไม่ใช่ตัวประธานอีกต่อไป แต่เป็นตัวกรรมของมัน

เอกสารหมายเลข 120 เรื่อง "วัฒนธรรมในยุคอุตสาหกรรม" เขียนโดย เธียวดอร์ อะดอร์โน
แปลและเรียบเรียงโดย : สมเกียรติ ตั้งนโม
September 2001
Midnight University
Free Remote Education
N
page
บทความใหม่ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ประจำเดือน กันยายน 2544
เพื่อนักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจทางด้านปรัชญาหลังสมัยใหม่

อาจารย์มารค ตามไท ได้พูดถึง รากฐานเกี่ยวกับความจริง 4 ประเภท ที่ผู้คนยึดถือ
และนักคิดหลังสมัยใหม่ มองความจริงอย่างไร ?
สาระสำคัญในที่นี้ก็คือ การนำเสนอเรื่องดังกล่าว
เป็นการนำเสนอในที่ประชุมของนักสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มช.
ซึ่ง อาจารย์อานันท์ กาญจนพันธุ์ และ อาจารย์ไชยันต์ รัชชกูล ร่วมสนทนาด้วย

บันทึกเทปโดย"โครงการสนทนาปัญหาศิลปะ ปรัชญา และวิทยาาสตร์ "
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - มอบให้มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
เพื่อเป็นวิทยาทานสำหรับการศึกษาไทย

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

1. GMO สำหรับอาหารมื้อเย็นนี้ (บทความแปล)
2. วิธีคิด (รายการสนทนามหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
3. ความเป็นเพศ [gender] วารุณี ภูริสินสิทธิ์ 
4. โฮโมเซ็กซ์ชวลลิทีในมุมมองจิตวิทยา (บทความแปล)
5. บทสนทนาเรื่องเพศกับศิลปะ (กามารมณ์ 101)
6. เศรษฐศาสตร์ชาวบ้าน(ธนาคารบ้านนอก-ระบบการเงิน ทางเลือก
(ครูชบ ยอดแก้ว - มหาวิทยาลัยชาวบ้าน)
7. พื้นฐานทางเศรษฐกิจของความสุข (รายการสนทนา มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน / ความสุข 101)
8. ท่าทีต่อชีวิตและความตาย (รายการสนทนา มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ความสุข 101)
9. การดื้อแพ่งต่อกฎหมายของประชาชน (สมชาย ปรีชาศิลปกุล / สาขานิติศาสตร์ มช. / ม.เที่ยงคืน) 
10. ทุนบ้านนอก (รายการโทรทัศน์ ม.เที่ยงคืน ทีทรรศน์ท้องถิ่น / ถอดเทป)
11. คณิตศาสตร์ปากมูล: เกษียร เตชะพีระ 
12. เขื่อนไม่ใช่ศูนย์กลางจักรวาล ชัชวาล ปุญปัน
13. ธุรกิจการเมือง (รายการโทรทัศน์ ม.เที่ยงคืน ทีทรรศน์ท้องถิ่น / ถอดเทป) 
14. ความขัดแย้งในปัญหาทรัพยากรและหนทางแก้ไข เก็บมาจากการอภิปรายของ นิธิ เอียวศรีวงศ์
15. ทฤษฎี 3 อำนาจ เก็บมาจากการอภิปรายของ ประเวศ วะสี
16. นโยบายเพื่อคนจน ประเวศ วะสี
17. วัฒนธรรมฮาเฮ (รายการสนทนาวันเปิดบ้าน มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
18. ความรู้ช้า(slow knowledge) (บทความแปลของ ม. เที่ยงคืน / สมเกียรติ ตั้งนโม)
19. ภาษาของธรรมชาติ (language of nature) (บทความแปลของ ม.เที่ยงคืน)
20. ไซเบอร์สเพสและธรรมชาติของมนุษย(cyberspace and human nature) (บทความแปล ของ ม.เที่ยงคืน / สมเกียรติ ตั้งนโม)
21. พรมแดนใหม่ของวิทยาศาสตร์(บทความแปล)
22.ศิลปะในสายตาสังคมวิทยา(บทความแปล)
23.วัฒนธรรมแห่งความเมตตา(บทความแปล)
24. ประวัติความเป็นมาของทรราชและเผด็จการ (แปลจากสารานุกรม)
25. การปรับปรุงทักษะความคิดสร้างสรรค(Melvin D. Saunders / ม.เที่ยงคืน เรียบเรียง)
26. ฟูโกในสารานุกรมสุนทรียศาสตร์ (สมเกียรติ ตั้งนโม / เรียบเรียง[ปรับปรุงใหม่])
27. เปิดพรมแดนวิทยาศาสตร์สู่พรมแดนแห่งจริยธรรม (John Ziman)
28. ร่ำรวยวัตถุ แต่ยากจนเวลา (บทความเชิง เศรษฐศาสตร์-เขียนโดย Wolfgang Sachs)
29. แก้วิกฤติสังคมด้วยสันตวิธี (กรณีสมัชชาคนจน กับรัฐบาล - พิษณุเรียบเรียง)
30. ความผูกพันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ (แถลงการณ์ที่ซีแอตเติล โดยหัวหน้าชนเผ่าอินเดียนแดง)
31.การนอนหลับและการฝัน(การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยา / บทความแปล-เรียบเรียง)
32. เศรษฐศาสตร์การตลาดที่มีหัวใจ (David Korten)
33.การเมืองแบบ"ทางสายที่ 3 : วาทกรรมแบบ หลังสังคมนิยม (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์)
34. อัตลักษณ์และความหมายของวิทยาศาสตร์ (Charles van Doren จากหนังสือ A History of Knowledge)
35. นักวิชาการเครื่องซักผ้า (รายการทีทรรศน์ท้องถิ่น)
36. วิกฤตพุทธศาสนากับสังคมไทย (ถอดเทปมาจากห้อง เรียนมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
37. สนทนาเรื่อง"ธรรมบท"(ประมวล เพ็งจันทร์ / มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
38. สาระจากโทรทัศน(anthology from Thai TV)
39. มหัศจรรย์แผ่นดินจีนในสายตามาร์โคโปโล (บทความแปล)
40. จุดเปลี่ยนแห่งศตวรรษ จากมุมมองของพระเจ้า มาสู่มุมมองของมนุษย์ (สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
41. เจ้าโลกเป็นเจ้าโลกจริงหรือ ? (ถอดเทปบทสนทนา ของ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
42. มนุษย์เรอเนสซองค์ [Renaissance Man] (แปล)
43. ฟูโกสำหรับผู้เริ่มต้น (Foucault for Beginners)
44. กำเนิดคลินิค (Foucault for Beginners)
45. แบบแผนของสิ่งต่างๆ (The Order of Things) (Foucault for Beginners)
46. วินัยและการลงโทษ (Discipline and Punish) (Foucault for Beginners)
47. ประวัติศาสตร์เกี่ยวกับเรื่องเพศ (History of Sexuality) (Foucault for Beginners)
48.
วอลเดน เบลโล ซักฟอกธนาคารโลก และ ไอเอมเอฟ (นิธิ เอียวศรีวงศ์ แปลสรุปความ)
49. ความรู้ช้า (Slow Knowledge : David Orr)
50. โพส์ทโมเดิร์นในศิลปะและปรัชญา (ชมรมเสวนาและการดนตรี คณะวิจิตรศิลป์ มช.)
51. เลือกตั้งกับการเมืองภาคประชาชน (ถอดเทปรายการทีทรรศน์ท้องถิ่น)
52. ศาสตร์ว่าด้วยเรื่องคนจน (ที่มาของสมัชชานักวิชาการเพื่อคนจน / บทความถอดเทป)
53.ความยิ่งใหญ่และข้อจำกัดของฟรอยด์ (สมเกียรติ ตั้งนโม)
54.วาระแห่งชาติภาคประชาชน (แถลงการณ์ของประชาชนระดับรากหญ้า)
55. นิติศาสตร์แหกคอก (สมชาย ปรีชาศิลปกุล)
56. โฉมหน้าความเป็นหญิงในวิทยาศาสตร์ (Linda Jean Shepherd)
57. ข้อเสนอการศึกษากับทางเลือกของชีวิต (นิธิ เอียวศรีวงศ์)
58.ความเป็นผู้หญิงในสังคมไทย (วารุณี ภูริสินสิทธิ์)
59. ทุนนิยมธรรมชาติ (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปล)
60. ดิบงามในงานสร้างสรรค(Raw Creation / John Maizels / สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
61. เสวนาเรื่อง"การศึกษาเพื่อสันติภาพ" (นิธิ เอียวศรีวงศ,์ คณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน และผู้เข้าร่วมเสวนา)
62. เลือกที่จะไม่เลือก (นิธิ เอียวศรีวงศ์) และ แถลงการณ์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
63.สิทธิบัตรเกี่ยวกับชีวิต (สมเกียรติ ตั้งนโม / Patents on Life)
64. หนังสือกรรมสิทธิ์ของโคลัมบัสยุคใหม (บทความแปล / สมเกียรติ ตั้งนโม)
65. วัฒนธรรมโลก กับ ความเป็นอเมริกัน (มกราคม 44 / สมเกียรติ ตั้งนโม)
66.ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน (สมเกียรติ ตั้งนโม)
67.Deconstruction (ทฤษฎีรื้อโครงสร้าง)(สมเกียรติ ตั้งนโม / เรียบเรียง)
68.พลวัติของความรู้ชาวบ้าน ในกระแสโลกาภิวัตน์
(อานันท์ กาญจนพันธุ์)
69.หลักรัฐศาสตร์ และหลักนิติศาสตร (ไพสิฐ พาณิชย์กุล)
70. โลกาภิวัตน์กับวัฒนธรรมไทย (อานันท์ กาญจนพันธุ์)
71. เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ (ผาสุก พงษ์ไพจิตร)
72. กระแสชุมชนท้องถิ่นในยุคโลกาภิวัตน์ (ศ.เสน่ห์ จามริก)
73. ฉันทามติรัตนโกสินทร์ในยุคโลกาภิวัตน์
(รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

บริการการศึกษาทางไกลฟรีของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ผ่านระบบเครือข่าย เพื่อนักศึกษา สมาชิก และผู้สนใจทุกท่าน / กันยายน 2544
74. ปรัชญาการสร้างสรรค์ศิลปะเอเชียในอดีต
(นิธิ เอียวศรีวงศ์)
75. Structuralism & Poststructuralism (แนวคิดโครงสร้างนิยม และ หลังโครงสร้างนิยม) (สมเกียรติ ตั้งนโม)
76.Functionalism & Structuralism (สมเกียรติ ตั้งนโม)
77. โลกาภิวัตน์และความยากจน (สมเกียรติ ตั้งนโม)
78.การเมืองภาคประชาชนหลังเลือกตั้ง
(กรณีเกี่ยวเนื่องกับ Vote no Vote - มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
79.สัมภาษณ์นอวม ชอมสกี้ กรณี ไมโครซอฟ (สมเกียรติ ตั้งนโม / เรียบเรียง)
80.คนจนสี่พันล้านคน ผู้ถือกุญแจไปสู่อนาคตแห่งทุนนิยม
(Nicola Bullard)(สมเกียรติ ตั้งนโม / เรียบเรียง)
81. WTO การค้าเสรี : ใครได้ใครเสีย (วอลเดน เบลโล / ชามมาลี กุดตาล / วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ)
82. สิ่งที่ทำให้สื่อกระแสหลัก เป็นสื่อกระแสหลัก (นอวม ชอมสกี้ เขียน / สมเกียรติ ตั้งนโม แปลและเรียบเรียง)
83. ศาลรัฐธรรมนูญ กับการทำให้สิทธิ - เสรีภาพเป็นจริง
(ไพสิฐ พาณิชย์กุล : เขียน)
84. จุดจบของการพัฒนา (End of Devepment : Andrew Mclaughlin)(สมเกียรติ ตั้งนโม / แปลและเรียบเรียง)
85. การเมืองของความเป็นศัตรู และ ปัญหาบางประการ
ในความคิดทางการเมืองของคาร์ล ชมิทท์.
(ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์)
86. มิเชล ฟูโก : ผู้กบฎต่อความจริง (The Return of Grand Theory in Human Science / Mark Philp)
87. มหาตมะคานธีและคริสตศตวรรษที่ 21 (ตอนที่ 1) โดย HAROLD DAVID PARKS
88. มหาตมะคานธีและคริสตศตวรรษที่ 21 (ตอนที่ 2) โดย HAROLD DAVID PARKS
89. ความเป็นคนชายขอบ กับปัญหาสิทธิมนุษยชน ในสังคมไทย (สุริชัย หวันแก้ว, มาร์ก ตามไท, อานันท์ กาญจนพันธุ์)
90. บทสัมภาษณ์ฟรานซิส ฟูกูยามา ผู้เขียน The End of History and the Last Man (ตอนที่หนึ่ง) (สมเกียรติ ตั้งนโม)
91. บทสัมภาษณ์ฟรานซิส ฟูกูยามา ผู้เขียน The End of History and the Last Man (ตอนที่สอง) (สมเกียรติ ตั้งนโม)
92. เมื่อ อัลเบริท ไอน์สไตน์ วิพากษ์ทุนนิยม (แปลจาก
Why Socialism / by Albert Einstein)
93. ยูรเกิน ฮาเบอร์มัส คิดอะไร (1) ฉบับอ่านเข้าใจง่าย / ผู้เขียน Anthony Giddens
94. ยูรเกิน ฮาเบอร์มัส คิดอะไร (2) ฉบับสมบูรณ์ อ่านเข้าใจยาก / ผู้เขียน Anthony Giddens
95. เมืองไทยบนเส้นทางแห่งสังคมเสี่ยงภัย (สุริชัย หวันก้ว)
96. พัฒนาการความคิดของของฟริตจ๊อฟ คาปร้า : จาก เต๋าแห่งฟิสิกส์ สู่ทฤษฎีข่ายใยชีวิต (อรศรี งามวิทยาพงศ์)
97. Thomas Kuhn กับการตั้งข้อสงสัยในวิทยาศาสตร(สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
98. ผู้ตั้งคำถามต่อยุคสมัยใหม่(The Frankfurt School)
(สมเกียรติ ตั้งนโม)
99. กรอบความคิดว่าด้วย"กระบวนทัศน์สุขภาพ"
(อรศรี งามวิทยาพงศ์ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
100. ปฏิรูปที่ดิน : กรวดในรองเท้าของรัฐบาลใหม(ถอดเทปรายการทีทรรศน์ท้องถิ่น)
101. ด้วยจิตวิญญานธรรมศาสตร์ - The Spirit of Thamasatra (นิธิ เอียวศรีวงศ์)
102. โป๊-เปลือย-ลามก-อนาจาร (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)(ส่วนหนึ่งของกระบวนวิชาปรัชญาศิลป์)
103. พระองค์เจ้ารพีฯ เป็นบิดาแห่งกฎหมายไทยจริงหรือ ?(สมชาย ปรีชาศิลปกุล สาขานิติศาสตร์ มช.)
104 ทฤษฎีวิพากษ์ และ วิกฤตของทฤษฎีทางสังคม (Critical Theory and the Crisis of Social Theory : Douglas Kellner)(สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง).
105 พลวัตรในการเมืองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : กรณีไทย อินโดเนเซีย ฟิลิปปีนส์ และพม่า โดย : (เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช)
106. วิพากษ์วิทยาศาสตร์และทฤษฎีกายา ของ เจมส์ เลิฟล็อค (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
107. ภิกษุณี คติหรืออคติ (1) (ดร.อภิญญา เฟื่องฟูสกุล และ ดร.ประมวล เพ็งจันทรื)[ชั้นเรียนมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน]
108. ภิกษุณี คติหรืออคติ (2) (ช่วงสนทนาในชั้นเรียน)
109. กระแสชาตินิยม (เกษียร เตชะพีระ)(บทความถอดเทป มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)[และเรื่อง"จิตใจเป็นเจ้าของชาติ"]
110.กระแสชาตินิยม (เกษียร เตชะพีระ) (ช่วงสนทนาในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
111. สิทธิชุมชน ปัญหาและพัฒนาการทางความคิด (ไพสิฐ พาณิชย์กุล, สาขานิติศาสตร์ คณะสังคม ฯ มช.)
112. นิติบัญญัติจากหมู่บ้าน (ชั้นเรียนมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน) (ไพสิฐ พาณิชย์กุล : นำการสนทนา)
113. เจาะเวลา หาเวลา(เวลาและเอกภพ) (สดชื่น วิบูลยเสข / ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
114. ข้อคิดและมุมมองของนิธ (รวมบทความที่เคยตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์)(นิธิ เอียวศรีวงศ์)
115. ปฏิบัติการพายุสมองและการทำแผนที่จิต (สมเกียรติ ตั้งนโม / คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
116. อำนาจ, ฟูโก, และแฟรงค์เฟริทสคูล (ความพยายามกบฎ ต่อโครงสร้างอำนาจ)(สมเกียรติ ตั้งนโม / แปลและเรียบเรียง)
117. สี่ท่าทีที่มีต่อความจริง : รากฐานปรัชญาหลังสมัยใหม่ (มารค ตามไท / ตอนที่ 1 ช่วงวิทยากรนำสนทนา)
118. สี่ท่าทีที่มีต่อความจริง : รากฐานปรัชญาหลังสมัยใหม(มารค ตามไท / ตอนที่ 1 ช่วงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น)
119. วัฒนธรรมในยุคอุตสาหกรรม (ตอนที่ 1:ทำความรู้จักกับ
เธียวดอร์ อะดอรโน)(สมเกียรติ ตั้งนโม / แปลและเรียบเรียง)
120. วัฒนธรรมในยุคอุตสาหกรรม (ตอนที่ 2: ยุคสว่างในฐานะ
ที่เป็นยุคหลอกลวงมวลชน
121. ปฏิรูปการเมือง : บนเส้นทางไปสู่ความเป็นขวา (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์)
122. เรื่องแปลกๆของ อคิน รพีพัฒน(มรว.อคิน รพีพัฒน์ / เขียนขึ้นเพื่อระลึก 60 ปี อาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์)
123. สถาปัตยกรรมปกติ และที่ว่างที่ผิดปกติ (สันต์ สุวัจฉราภินันท์ / สถาปัตยกรรม มช.)
124. บทนำเพื่อทำความเข้าใจ"ลัทธิหลังอาณานิคม" (สมเกียรติ ตั้งนโม)


ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา

e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com

ถ้าประชาธิปไตยเป็นการปกครองของฝูงชน อุดมคติเรื่องชาติอันยิ่งใหญ่ก็คือ อุดมคติที่มองหาผู้นำที่เต็มไปด้วยบารมี ชาติที่ยิ่งใหญ่เรียกร้องผู้นำที่ยิ่งใหญ่ และผู้นำที่ยิ่งใหญ่ก็เรียกร้องความสนับสนุน
จากประชาชนในสัดส่วนที่ ยิ่งใหญ่ตามขึ้นไปด้วย.
ภายใต้อุดมคติทางการเมืองทั้งหมดนี้ ผู้นำกลายเป็นเรื่องที่มีความสำคัญที่สุดสำหรับสังคมการเมืองไทย
และด้วยเหตุเช่นนี้ จึงไม่น่าแปลกใจที่คำถามเรื่ององค์อธิปัตย์ ไม่เคยเป็นคำถามสำคัญในสังคมการเมืองไทย ไม่แม้กระทั่ง
ในแวดวงปัญญาชนสาธารณะแบบไทยๆ.

เรื่องแปลกๆเหล่านี้ เป็นประสบการณ์ที่เกิดกับผมหรือที่ผมเห็นมาในช่วง 30-40 ป
ีที่ทำงานสนามในวิชามานุษยวิทยาตามที่ต่างๆในประเทศไทย
ซึ่งทำให้ผมแปลกใจ งง และอยากทดลองสรุปเอาง่ายๆถูกผิดไม่ทราบ
แต่คิดว่าเรื่องเหล่านี้บอกอะไรเราบางอย่างเกี่ยวกับคนไทยและสังคมไทย (สนใจคลิกที่ banner)
อะไรคือก้าวต่อไปของสหรัฐฯ หลังความหายนะ
สำเนาภาพมาจาก ภาพประกอบของ Fox news และ Time.com เพื่อการศึกษา 230944

โศกนาฏกรรมที่ตึกเวิลด์เทรดผ่านไปแล้วช่วงหนึ่ง โลกเรียนรู้อะไรบ้างจากความสูญเสียดังกล่าว?
ขณะนี้โลกกระหึ่มก้องไปด้วยความปรารถนาที่จะแก้แค้น ของยักษ์ที่โกรธเกรี้ยว ฉันทานุมัติสู่สงครามตั้งอยู่บนข้ออ้างที่จะทวงความยุติธรรมแก่ผู้ตาย และการปกป้องโลกจากการก่อการร้าย ดูเหมือนว่าผู้นำรัฐต่างๆในโลกที่สนับสนุน หรือจำต้องสนับสนุนสหรัฐ จะคิดว่าวิธีการแสดงความเสียใจต่อโศกนาฏกรรมดังกล่าว คือการสนับสนุนการตามล่าผู้ก่อการร้าย การคิดเช่นนี้นับเป็นอันตรายอย่างยิ่ง เพราะเป็นการให้ความชอบธรรมต่อการใช้ความรุนแรง บนการปกป้องผลประโยชน์ของรัฐชาติ

อันที่จริง ความตายที่เวิลด์เทรดเตือนพวกเราว่าสิ่งอันตรายที่สุดอย่างหนึ่งที่เป็นผลผลิตของโลกยุคสมัยใหม่ก็คือ อุดมการชาตินิยม ซึ่งหากผนวกกับอุดมการทางเชื้อชาติและศาสนาแล้วก็อาจจะกลายเป็นกรงขังทางความคิดที่ทำให้มองเห็น "ผู้อื่น" เป็นศัตรูโดยง่าย

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ขอร่วมรณรงค์เรียกร้อง และตั้งคำถาม ต่อวิธีการใช้ความรุนแรงตอบโต้กัน ผ่านบทความชิ้นนี้ / บรรณาธิการ

การยอมรับความชอบธรรมและอำนาจของรัฐชาติทำให้รู้สึกว่าความรุนแรงใดๆที่ละเมิดกติกาของรัฐชาติเป็นสิ่งผิด ถูกปิดป้ายว่าเป็นการกระทำของ "ผู้ก่อการร้าย" ที่มุ่งทำลายอารยธรรมและเสถียรภาพของโลก ในขณะที่หากรัฐเป็นผู้ใช้ความรุนแรงแบบเดียวกันบ้างทั้งกับคนเชื้อชาติเดียวกัน คนต่างชาติหรือกับชนกลุ่มน้อย จะถูกมองว่าเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อปกป้องความมั่นคงและผลประโยชน์ของรัฐนั้น

พฤติกรรมของอเมริกาในสงครามเวียดนาม ในลาตินอเมริกาและอเมริกากลางตลอดจนในตะวันออกกลางซึ่งทำลายชีวิตนับล้านและทรัพย์สินนับไม่ถ้วนนั้นจัดเป็นพฤติกรรมของ "ผู้ก่อการดี" ที่โหดร้ายน้อยกว่าการถล่มตึกเวิลด์เทรดกระนั้นหรือ ?

ความรุนแรงมีพลังพลวัตรในตัวเอง การสนับสนุนให้ตามล่ากลุ่มก่อการทำให้มองไม่เห็นว่า ที่จริงต้นตอส่วนหนึ่งของปัญหามาจากตัวกติกาสากลของรัฐชาติต่างๆที่อนุญาตให้รัฐหลายๆรัฐบีบคั้น ปิดป้ายและล้อมกรอบกลุ่มที่คิดขัดแย้งกับตนให้จนมุมจนไม่เหลือพื้นที่ที่ชอบธรรมหรือสันติทางอื่นอีก การปลุกเร้าอุดมการชาตินิยมในอเมริกาขณะนี้ทำให้เกิดกระแสเกลียดชังคนมุสลิมทั้งภายในอเมริกาและในประเทศคนผิวขาวทั้งยุโรปและออสเตรเลีย ทั้งๆที่ยังมิได้มีการสรุปชัดแล้วว่าผู้ลงมือเป็นกลุ่มมุสลิมจริงหรือไม่

มีการทำร้ายและสังหารคนมุสลิมผู้บริสุทธิ์เกิดขึ้นแล้ว มันไม่เป็นสิ่งน่าสมเพชดอกหรือหากเราจะแสดงความเคารพต่อชีวิตที่ดับสูญไปด้วยการเร่งเร้าให้มีการคร่าชีวิตเพิ่มเติม? จะต้องมีการสังเวยชีวิตทหารอเมริกันในสงครามอีกเท่าใดจึงจะทำให้คนอเมริกันและผู้นำรัฐต่างๆได้สติและมองเห็นความไร้สาระของสงคราม?

โลกควรแสดงความเคารพอย่างลึกซึ้งต่อผู้จากไปด้วยการสำเหนียกถึงคุณค่าของชีวิต และหันมาพิจารณาร่วมกันอย่างจริงจังเกี่ยวกับมาตรการต่างๆในการสร้างสันติภาพในโลก ทำอย่างไรจะให้การประชุมลดอาวุธมีผลจริงในทางปฏิบัติ ทำอย่างไรจึงป้องกันไม่ให้สิทธิมนุษยชนถูกละเมิดในนามของรัฐ ทำอย่างไรจึงจะเกิดการถ่วงดุลย์อำนาจที่ได้ผลในองค์การระหว่างประเทศต่างๆ ทำอย่างไรศาสนิกของศาสนาต่างๆจะไม่บิดการตีความและใช้ศาสนาของตนเป็นเครื่องมือของความรุนแรง

ขณะนี้ดูเหมือนชาวโลกจะรู้สึกว่าปัจเจกแต่ละคนไร้พลัง ไม่อาจเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐได้ กระนั้นก็ตามเสียงที่แผ่วเบาหากรวมกันเป็นหมื่นเป็นแสนก็สามารถเป็นเสียงที่ผู้ปกครองไม่อาจเพิกเฉยได้ ขอให้เสียงจากใจที่แสวงศานติทั่วโลกจงมาผนึกพลังร่วมกันเถิดก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินแก้

เสียงจากปลายดอย ๑๙ กันยายน ๒๕๔๔

Foucault ได้เสนอถึงรูปแบบของการซ้อนทับกันระหว่าง พื้นที่ว่างทางสังคม (Social Space) กับพื้นที่ว่างทางสถาปัตยกรรม (Architectural Space) และในขณะเดียวกันก็เป็นความสัมพันธ์ในทางกลับกัน คือพื้นที่ทางสถาปัตยกรรมเป็นตัวกำหนดพื้นที่ทางสังคม
จะเห็นได้ว่ามิติของที่ว่างทั้งสองสิ่งอยู่คู่กัน และส่งผลกระทบต่อซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Panopticon และ Heterotopia (Other Spaces)
เป็นตัวอย่างที่สำคัญของแนวความคิดของ Foucault ต่อที่ว่างทางสถาปัตยกรรม
(บางส่วนจากเนื้อหาบทความ)
สมเกียรติ ตั้งนโม / แปลและเรียบเรียง
โดยการมาควบคุมอาณาจักรทางวัฒนธรรมและจิตวิทยาข้างต้น, ชาติผู้กดขี่และชนชั้นต่างๆ
พยายามที่จะประกันความมั่นใจในสถานการณ์ของทาสคนหนึ่งซึ่งรับมาปฏิบัติว่า
การเป็นทาสคนหนึ่งนั้นมันคือเงื่อนไขปกติของความเป็นมนุษย์
(สนใจรายละเอียด กรุณาคลิกที่ banner)
HOST@THAIIS