ผมยังคงจำความรู้สึกพิศวงงงงวย เกี่ยวกับชาวปาเลติเนียนที่นั่นได้ เมื่อพวกเขารู้ว่าผมเป็นคนยิวที่เข้ามาสืบสวนเกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน ที่ถูกกระทำการอันรุนแรงโดยทหารอิสราเอล ผมได้รับการเชื้อเชิญให้เข้าไปในบ้านของพวกเขาเพื่อดื่มน้ำชา และผมไม่เคยลืมภาพของหยดน้ำตา ของความซาบซึ้งที่ไหลลงมาอาบแก้ม ของพวกเขาจำนวนมาก ผู้ซึ่งมีความสุขอย่างแท้จริง ที่ได้พบกับคนยิวคนหนึ่งที่มองพวกเขาในฐานะที่เป็นมนุษย์และมีความเท่าเทียมกัน ซึ่งมีเจตนาที่จะยอมรับถึงความทุกข์ทรมานของพวกเขา และยอมรับฟังเรื่องราวอีกด้านหนึ่งของความขัดแย้ง ที่เขาไม่เคยมีโอกาสได้เอ่ยออกมา. คนยิวทั้งหลายที่พวกเขาเคยเห็นในหมู่บ้านก็คือพวกทหารเท่านั้น ที่เป็นสัญลักษณ์เกี่ยวกับการยืนยันถึงการปกครองมของอิสราเอล
Eduardo Cohen
(สมเกียรติ ตั้งนโม : แปล)
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
กลางวันเรามองเห็นอะไรได้ชัดเจน
แต่กลางคืนเราต้องอาศัยจินตนาการ
Website ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สร้างขึ้นมาเพื่อผู้สนใจในการศึกษา
โดยไม่จำกัดคุณวุฒิ
สนใจสมัครเป็นสมาชิก
กรุณาคลิก member page
ส่วนผู้ที่ต้องการดูหัวข้อบทความ
ทั้งหมด ที่มีบริการอยู่ขณะนี้
กรุณาคลิกที่ contents page
และผู้ที่ต้องการแสดงความคิดเห็น
หรือประกาศข่าว
กรุณาคลิกที่ปุ่ม webboard
ข้างล่างของบทความชิ้นนี้
หากต้องการติดต่อกับ
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
ส่ง mail ตามที่อยู่ข้างล่างนี้
midnight2545(at)yahoo.com
midnightuniv(at)yahoo.com
e-mail : midnightuniv(at)yahoo.com
หากประสบปัญหาการส่ง
e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com
ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม
สมเกียรติ ตั้งนโม :
แปลและเรียบเรียง
Somkiat Tangnamo : Faculty of Finearts
Chiangmai University / The Midnight University
สำหรับผู้สนใจต้นฉบับ
คลิกไปอ่านได้ที่
http://www.zmag.org/cohenmideast.htm
สันต์
สุวัจฉราภินันท์ / คณะสถาปัตยกรรม มช.
การไปดูนิทรรศการ BODY WORLDS; The Anatomical Exhibition of Real Human Bodies by Prof. Gunther von Hagens ณ Atlanlis Gallery กรุงลอนดอนประเทศ อังกฤษ (ระหว่างวันที่ 23 มีนาคม ถึง 29 กันยายน 2002) คราวนี้รู้สึกแปลกไปจากนิทรรศการอื่นๆ ที่ผ่านมา ทั้งนี้น่าจะเกิดจากการที่สำนักข่าวต่างๆ ต่างพากันระดมนำเสนอทั้งข่าวสาร ข้อมูล และข้อคิดเห็นต่อเนื้อหาสาระของนิทรรศการ ที่นำเอาศพคนจริงๆ (Dissection Anatomical Model) มาผ่าให้ดูกันอย่างชนิดที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อแสดงถึงรายละเอียดอันสลับซับซ้อนภายในทุกส่วนที่รวมเรียกว่า ร่างกายมนุษย์ (Corporal Body) ให้เห็นกันอย่างชัดเจน (สนใจรายละเอียด กรุณาคลิกที่แบนเนอร์)
100.
ปฏิรูปที่ดิน : กรวดในรองเท้าของรัฐบาลใหม่
(ถอดเทปรายการทีทรรศน์ท้องถิ่น)
101. ด้วยจิตวิญญานธรรมศาสตร์
The Spirit of Thamasatra
(นิธิ เอียวศรีวงศ์ - มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
102. โป๊-เปลือย-ลามก-อนาจาร
(สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)(ส่วนหนึ่งของกระบวนวิชาปรัชญาศิลป์)
103. พระองค์เจ้ารพีฯ
เป็นบิดาแห่งกฎหมายไทยจริงหรือ ?(สมชาย ปรีชาศิลปกุล สาขานิติศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์ มช.)
104 ทฤษฎีวิพากษ์
และ วิกฤตของทฤษฎีทางสังคม (Critical Theory and the Crisis of Social
Theory : Douglas Kellner)(สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง).
105 พลวัตรในการเมืองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
: กรณีไทย อินโดเนเซีย ฟิลิปปีนส์ และพม่า โดย : (เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช)
106. วิพากษ์วิทยาศาสตร์และทฤษฎีกายา
ของ เจมส์ เลิฟล็อค (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
107. ภิกษุณี
คติหรืออคติ (1) (ดร.อภิญญา เฟื่องฟูสกุล และ ดร.ประมวล เพ็งจันทรื)[ชั้นเรียนมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน]
108.
ภิกษุณี คติหรืออคติ (2)
(ช่วงสนทนาในชั้นเรียน)
109. กระแสชาตินิยม
(เกษียร เตชะพีระ)(บทความถอดเทป มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)[และเรื่อง"จิตใจเป็นเจ้าของชาติ"]
110.กระแสชาตินิยม
(เกษียร เตชะพีระ) (ช่วงสนทนาในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
111. สิทธิชุมชน
ปัญหาและพัฒนาการทางความคิด (ไพสิฐ พาณิชย์กุล, สาขานิติศาสตร์ คณะสังคม
ฯ มช.)
112. นิติบัญญัติจากหมู่บ้าน
(ชั้นเรียนมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน) (ไพสิฐ พาณิชย์กุล : นำการสนทนา)
113. เจาะเวลา
หาเวลา(เวลาและเอกภพ) (สดชื่น วิบูลยเสข / ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
114. ข้อคิดและมุมมองของนิธิ
(รวมบทความที่เคยตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์)(นิธิ เอียวศรีวงศ์)
115. ปฏิบัติการพายุสมองและการทำแผนที่จิต
(สมเกียรติ ตั้งนโม / คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
116. อำนาจ,
ฟูโก, และแฟรงค์เฟริทสคูล (ความพยายามกบฎ ต่อโครงสร้างอำนาจ)(สมเกียรติ
ตั้งนโม / แปลและเรียบเรียง)
117. สี่ท่าทีที่มีต่อความจริง
: รากฐานปรัชญาหลังสมัยใหม่ (มารค ตามไท / ตอนที่ 1 ช่วงวิทยากรนำสนทนา)
118. สี่ท่าทีที่มีต่อความจริง
: รากฐานปรัชญาหลังสมัยใหม่ (มารค ตามไท / ตอนที่ 1 ช่วงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น)
119. วัฒนธรรมในยุคอุตสาหกรรม
(ตอนที่ 1:ทำความรู้จักกับ
เธียวดอร์ อะดอรโน)(สมเกียรติ ตั้งนโม / แปลและเรียบเรียง)
120. วัฒนธรรมในยุคอุตสาหกรรม
(ตอนที่ 2: ยุคสว่างในฐานะ
ที่เป็นยุคหลอกลวงมวลชน
121. ปฏิรูปการเมือง
: บนเส้นทางไปสู่ความเป็นขวา (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์)
122. เรื่องแปลกๆของ
อคิน รพีพัฒน์ (มรว.อคิน รพีพัฒน์ / เขียนขึ้นเพื่อระลึก 60 ปี อาจารย์นิธิ
เอียวศรีวงศ์)
123. สถาปัตยกรรมปกติ
และที่ว่างที่ผิดปกติ (สันต์ สุวัจฉราภินันท์ / สถาปัตยกรรม มช.)
124. บทนำเพื่อทำความเข้าใจ"ลัทธิหลังอาณานิคม"
(สมเกียรติ ตั้งนโม)
125. วิพากษ์
Thomas Kuhn จากมุมมองของนัก
วิทยาศาสตร์ : การปฏิวัติที่ไม่มีวันเกิด
(สดชื่น วิบูลยเสข:แปล)
126/1. ก่อการร้าย
(นิธิ เอียวศรีวงศ์)(มติชนสุดสัปดาห์ อังคารที่ 9 ตค.44)
126/2. บางส่วนของการพูดคุยเรื่อง "ความรุนแรงและสันติภาพโลก"
ที่มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน โดย (นิธิ เอียวศรีวงศ์)
127. ลัทธิการก่อการร้ายในยุคหลังสมัยใหม่
(ในสายตาของทุนนิยมอุตสาหกรรม / มุมมองแบบขวาๆ) (สมเกียรติ ตั้งนโม)
128. ทะลุทะลวงความสัมพันธ์เชิงอำนาจ
กรณีโครงสร้างระบบสุขภาพ (คณาจารย์
ม.เที่ยงคืน สนทนากับ นศ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตการพยาบาล ม.มหิดล)
129. นิทเช่
: ในฐานะรากฐานแนวคิดทางปรัชญาหลังสมัยใหม่ (Hans de crop ภาควิชาปรัชญาและศาสนา
คณะมนุษยศาสตร์ มช.)
130. รายงานบรรยากาศการมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิต
และรางวัลชุมชนเข้มแข็ง
บ่อนอก และ บ้านกรูด จ.ประจวบคีรีขันธ์
131. แนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องตัวตน
ระหว่าง"ฉัน"ที่เป็นประธาน กับ "ฉัน"ที่เป็นกรรม
(วารุณี ภูริสินสิทธิ์)
132. คนพูดมากแต่เขียนน้อย
George Herbert Mead (วารุณี ภูริสินสิทธิ์)
133. ปฏิรูปการเมือง
: บนหนทางไปสู่ความเป็นอนุรักษ์นิยม (ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์)
134. นิธิ
เอียวศรีวงศ์ กับคุณูปการต่อพุทธศาสนา (พระไพศาล วิสาโล)
135. ผลงานศิลปะในยุคของการผลิตซ้ำด้วยกลไก
(Walter Benjamin : สมเกียรติ ตั้งนโม แปลและเรียบเรียง)
136.สังขยาปกาสกฎีกา
อุปกรณ์แห่งการหยั่งถึงความเป็นจริง จากโลกวิทยาศาสตร์พุทธศาสนา
(ดร.ประมวล เพ็งจันทร์ และ ชัชวาล ปุญปัน)
137. Herbert
Marcuse คนสำคัญที่โลกกำลังจะหลงลืม (Douglas Kellner เขียน
/ สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง)
138. สงครามระหว่างอวิชชา
(ภควดี : แปล / The Clash of Ignorance : Edward W. Said)
139.โพสท์โมเดิร์นคืออะไร
จากปฏิกริยาแบบมาร์กซ์สู่การเมืองแบบปฏิบัตินิยม (ศิโรตม์
คล้ามไพบูลย)
140. เต๋าแห่งฟิสิกส์
(ว่าด้วยพุทธปรัชญานิกายเซน) ฟริตจ๊อฟ
คาปร้า เขียน /
สดชื่น วิบูลยเสข แปล (คำชี้แจงเกี่ยวกับ"เต๋าแห่งฟิสิกส"์ บทที่ 16
โดย อรศรี งามวิทยาพงศ์)
141.ตามรอยแนวคิดทฤษฎีหลังสมัยใหม่
(Postmodern
Theory : Introduction) สมเกียรติ ตังนโม : แปลและเรียบเรียง
142. วาทกรรมบนร่างกาย
และสุนทรียศาสตร์ของความเปลือยเปล่า (สันต์ สุวัจฉราภินันท์
/ คณะสถาปัตยกรรม มช.)
143.แถลงข่าว
เรื่องความรุนแรงที่บ่อนอกและบ้านกรูด (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
144.รายงานบรรยากาศการมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิต
และรางวัลชุมชนเข้มแข็ง บ่อนอก และ บ้านกรูด จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ตัดมาจากหนังสือพิมพ์ต่างๆ
ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
145. ชีวิตระหว่างชายขอบโลกทั้งสองด้าน
(Edward W.Said เขียน / สมเกียรติ ตั้งนโม แปลและเรียบเรียง)
146. ปฏิรูปการศึกษา
: มุมมองทางกระบวนทัศน์และบริบทสังคมไทย (อรศรี งามวิทยาพงศ์
/ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
147. "Gunther"
ประพันธ์โดย "Abba Kovnan" (ฑีฆพัฐส์ : แปล)
148. พรมแดนความรู้ทางมานุษยวิทยา
(ตอนที่ 1) (1) มานุษยวิทยากับการศึกษารัฐ
(2) ปริมณฑลสาธารณะ (3) มานุษยวิทยากับโลกศิลปะ
149.
พรมแดนความรู้ทางมานุษยวิทยา
(ตอนที่ 2) (4) ความทรงจำกับสำนึกทางการเมือง
และ (5) การเขียนงานชาติพันธุ์และการสร้างภาพแทนในงานมานุษยวิทยา
150. Baudrillard
: เจ้าพ่อสื่อหลังสมัยใหม่ (แปลจาก Baudrillard: A New McLuhan? By
Douglas Kellner) สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเรียบเรียง
151. การจัดการความขัดแย้งในวิถีทางของชาวพุทธ
(ปาฐกาฐาพิเศษโครงการศิลปะเพื่อสันติภาพ โดย ส.ศิวรักษ์)
152. สิทธิชนพื้นเมืองในกระบวนการยุติธรรมมาเลเซีย
แปลโดย สมชาย ปรีชาศิลปกุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
153. 533
นักวิชาการร่วมคัดค้านโรงไฟฟ้าบ่อนอกและหินกรูด (พร้อมรายชื่อนักวิชาการ)[ปรับปรุงจาก
นสพ.ข่าวสด 21 มค.45]
154. คนจนตายอย่างไร?
: การประเมินผลกระทบสุขภาพ(ตอนที่ 1) (เดชรัตน์ สุขกำเนิด คณะเศรษฐศาสตร์
ม.เกษตรศาสตร์)
155.
คนจนตายอย่างไร?
: การประเมินผลกระทบสุขภาพ(ตอนที่ 2) (เดชรัตน์ สุขกำเนิด คณะเศรษฐศาสตร์
ม.เกษตรศาสตร์)
156. วิกฤตพลังงาน
: กับดักของการพัฒนาโลกาภิวัตน์
(อรศรี งามวิทยาพงศ์ / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
157. แถลงการณ์เกี่ยวกับกระดานข่าวของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
(มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
158. Walter
Gropius ผู้ให้กำเนิดหัวใจศิลปะแบบเบาเฮาส์ (สมเกียรติ ตั้งนโม)
159. Erich
Fromm : แนวคิดสตรีนิยมของอิริค ฟรอม์ม /
Douglas Kellner (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปล)
160. Erich
Fromm : แนวคิดสตรีนิยม มาตาธิปไตย และสันติภาพ
/
Douglas Kellner (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปล)
161. ทศวรรษแห่งการพัฒนา
(Decade of Development) (สดชื่น วิบูลยเสข : แปล)
162. Nicholas
Bennett ปรัชญาการศึกษาเพื่อคนจน (บทสัมภาษณ์ โดย มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
163.
เปลือยพลังงาน
- วิกฤตของใคร (ชัชวาล ปุญปัน / นิธิ เอียวศรีวงศ์ - ชั้นเรียนมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
164.
เปลือยพลังงาน
- วิกฤตของใคร (ช่วงสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
165. ชนพื้นเมืองและการจัดการทรัพยากร:
บทเรียนจากมาเลเซีย (สมชาย ปรีชาศิลปกุล)
166.แนวคิดสตรีนิยมในสกุลความคิดต่างๆ
(ปรับปรุงจากบทความลำดับที่ 3 เรื่อง"ความเป็นเพศ") วารุณี ภูริสินสิทธิ์
167. อารยธรรมและศัตรูของอเมริกัน
(สมเกียรติ ตั้งนโม : แปล จากเรื่อง AMERICAN CIVILAZATION AND
ITS ENEMIES )
168.
ฐานคิดของจริยธรรมและการวิจัยในโลกสมัยใหม่
(อรศรี งามวิทยาพงศ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
169. ประวัติและพัฒนาการมาเฟียพลังงาน
(วิทูร เพิ่มพงศาเจริญ / ชั้นเรียนมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน / พลังงานกับงานที่มีพลัง)
169/2. ประวัติและพัฒนาการมาเฟียพลังงาน
(วิทูร เพิ่มพงศาเจริญ / ช่วงสนทนาในชั้นเรียนมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
170.
โครงการสัมนาวิชาการสัญจร เรื่อง ทางเลือกการจัดการน้ำในภาคอีสาน
(มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน, มหาวิทยาลัยสกลนคร ร่วมกับองค์กรอื่นๆ)
171.
แถลงการณ์คนจนผู้ไร้อำนาจ
(มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ร่วมกับองค์กรอื่นทั่วประเทศ)
172. Body
Worlds เส้นบางๆ ระหว่างโลกวิทยาศาสตร์กับโลกศิลปะ
(สันต์ สุวัจฉราภินันท์
/ คณะสถาปัตยกรรม มช.)
173. ภาพของชาวปาเลสติเนียนที่คนอเมริกันไม่เคยรับรู้
(กรณีความขัดแย้งในตะวันออกกลางครั้งล่าสุด) (สมเกียรติ ตั้งนโม:
แปล)
วันที่
26 - 27 - 28 เมษายน 2545
ณ สถาบันราชภัฏสกลนคร จังหวัดสกลนคร
(สนใจรายละเอียด
กรุณาคลิกไปดูได้ที่แบนเนอร์)