B
หน้าสารบัญแต่ละหน้า จะบรรจุหัวข้อบทความจำนวน 200 บทความ : ขณะนี้ท่านกำลังอยู่ที่หน้าสารบัญ 8 (1600-1800)
H


The Midnight's homepage : http://midnightuniv.tumrai.com




มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า ๑,๗๐๐ เรื่อง หนากว่า ๓๕,๐๐๐ หน้า ในรูปของ CD-ROM
เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา ๑๕๐ บาท(รวมค่าส่ง) เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)gmail.com

1600. ปราสาทพระวิหารเชิงวิพากษ์ แนวพินิจศาลปกครองไทย (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
1601. ประชาธิปไตยในระบบเศรษฐกิจ: ความหมายและความน่าจะเป็น (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1602. การประกบคู่ระหว่าง"ศิลป"กับ"ฟิสิกส์: "มายาคติ"กับ"ความจริง" (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปลและเชิงอรรถ)
1603. จดหมายถึงวาเนสสา: โลกพิศวงแต่เดิมเป็นอย่างไร ? (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปลและเรียบเรียง)
1604. การผลิตซ้ำอุดมการณ์เสรีนิยมใหม่และอิทธิพลต่อเศรษฐกิจการเมืองไทย (เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร : เขียน)
1605. การทำลายภาคเกษตรกรรมของอัฟริกาโดยสถาบันเศรษฐกิจโลก (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1606. ระบบการเลือกตั้ง และการกระทำผิดในการเลือกตั้งยุคใหม่ (รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล : แปลและเรียบเรียง)
1607. แนวคิดเกี่ยวกับ"ชาติไทย"และ"ความเป็นไทย"ของ หลวงวิจิตรวาทการ (๑) (รศ.สายชล สัตยานุรักษ์ : ผู้วิจัย)
1608. แนวคิดเกี่ยวกับ"ชาติไทย"และ"ความเป็นไทย"ของ หลวงวิจิตรวาทการ (๒) (รศ.สายชล สัตยานุรักษ์ : ผู้วิจัย)
1609. สัมภาษณ์ปีเตอร์ รอสเซ็ต: ลาตินอเมริกาและแนวหน้าขบวนการสังคม (กรรณิการ์ กิจติเวชกุล : เรียบเรียง)
1610. SLOW FOOD (SAVES THE WORLD): อาหารประณีตจากแผ่นดินแม่ (กรรณิการ์ กิจติเวชกุล : เรียบเรียง)

1611. เขาพระวิหารไทย-กัมพูชา ไปให้พ้นความขัดแย้งที่ไม่สร้างสรรค์ (แถลงการณ์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1612. ย้อนรอยแนวคิดเศรษฐกิจเสรีนิยมใหม่สู่รากฐานทางปรัชญา (เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร : เขียน)
1613. บทนำ: ลู่ทางในการเยียวยาสิทธิด้านอาหารและเรื่องเกี่ยวเนื่อง (ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ : ผู้วิจัย)
1914. สิทธิด้านอาหาร: การคุ้มครองและเป้าหมายของการเยียวยา (ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ : ผู้วิจัย)
1615. จากการเมืองคืออะไร ถึงอภิชนาธิปไตยและหน้าที่ใหม่ของศาลปกครอง (ชำนาญ จันทร์เรือง : เขียน)
1616. บางแง่มุมเกี่ยวกับแรงงานฝรั่งเศสภายใต้ระเบียบทุนนิยม (เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร : เขียน)
1617. ปาฐกถาสุภา ศิริมานนท์ : แรงงานไทยบนเส้นทางทุนนิยม (รศ.ดร.แล ดิลกวิทยรัตน์ : ปาฐก)
1618. H. G. Wells: The Country of the Blind - ดินแดนคนตาบอด (เอช.จี.เวลส์ : เขียน, มโนราห์ : แปล)
1619. โหมโรง: บทพิสูจน์ลัทธิเสรีนิยมใหม่ (เศรษฐศาสตร์อันตราย) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1620. ลงเอย: บทพิสูจน์ลัทธิเสรีนิยมใหม่ (สิทธิมนุษยชนอันตราย) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเรียบเรียง)

1621. เวลาและอากาศสัมบูรณ์ ลางสังหรณ์ และช่วงปัจจุบันขณะ (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : นักแปลอิสระ)
1622. ปกิณกะความงาม: ร่างกาย ความงามอย่างไร้สติตามธรรมชาติ (๑) (วิจิตร ว่องวารีทิพย์: ผู้วิจัย)
1623. ปกิณกะความงาม: ร่างกาย ความงามอย่างไร้สติตามธรรมชาติ (๒) (วิจิตร ว่องวารีทิพย์: ผู้วิจัย)
1624. ปกิณกะความงาม: ร่างกาย ความงามอย่างไร้สติตามธรรมชาติ (๓) (วิจิตร ว่องวารีทิพย์: ผู้วิจัย)
1625. Living Wage Laws: ผลทางเศรษฐกิจของกฎหมายค่าจ้างเพื่อการดำรงชีพ (๑) (รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล : แปล)
1626. Living Wage Laws: ผลทางเศรษฐกิจของกฎหมายค่าจ้างเพื่อการดำรงชีพ (๒) (รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล : แปล)
1627. ภูมิศาสตร์และสังคมศาสตร์: ที่ว่าง พื้นที่ และ เพศสถานะ (๑) (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปลและเรียบเรียง)
1628. ภูมิศาสตร์และสังคมศาสตร์: ที่ว่าง พื้นที่ และ เพศสถานะ (๒) (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ : แปลและเรียบเรียง)
1629. การเขียนรูปด้วยสมองซีกขวา: สมองซีกซ้ายและสมองซีกขวา (สมเกียรติ ตั้งนโม : แปล. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1630. แถลงการณ์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: เรื่อง ขอประณามการเคลื่อนไหวที่นำสังคมไทยไปสู่หายนะ

1631. การเขียนรูปด้วยสมองซีกขวา: มีสมองเพียงครึ่งหนึ่งดีกว่าไม่มีเลย (สมเกียรติ ตั้งนโม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1632. ขดเกลียวของความรุนแรง: ประชาธิปไตย กับ อนาธิปไตย (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1633. ประวัติศาสตร์การเมืองพม่า(เพื่อนบ้าน): ทิศทางที่ยังไร้อนาคต (อัจฉรียา สายศิลป์ : นักวิชาการที่สนใจสื่อพม่า)
1634. สื่อเก่าและสื่อใหม่ในพม่า: จากกระดาษหนังสือพิมพ์ถึงโลกไซเบอร์ (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)
1635. อันตราย: รัฐเสรีนิยมใหม่ อนุรักษ์นิยมใหม่ และชาตินิยม (๑) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเชิงอรรถ)
1636. อันตราย: รัฐเสรีนิยมใหม่ อนุรักษ์นิยมใหม่ และชาตินิยม (๒) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปลและเชิงอรรถ)
1637. กระบวนทัศน์ใหม่ในการสร้างจิตสำนึกทางตำราประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ (ภาณุทัต ยอดเเก้ว : เขียน)
1638. ภาวนาและสติ: บทคั่นรายการโทรทัศน์และเนื้อสมองของเรา? (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปลและเรียบเรียง)
1639. นักวิชาการเชียงใหม่สคูล: กับวิกฤตประชาธิปไตยในอุ้งมือพันธมิตรฯ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1640. สื่อพม่าพลัดถิ่นในประเทศไทย: สำนักข่าวอิสระอิระวดี, ดีวีบี, และมิสซิมา (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)

1641. การปรับตัวของสื่อพม่าพลัดถิ่นในยุคเทคโนโลยีทางการสื่อสาร (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)
1642. ความเป็นมาและพัฒนาการของระบบทุนข้ามชาติ ๕ ระยะ (ดร.ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์ : มหาวิทยาลัยมหิดล)
1643. ประชาธิปไตยในสายตาของนักมานุษวิทยาอนาธิปไตย (ภัควดี วีระภาสพงษ์ แปลจากงานของ David Graeber)
1644. ความเติบโตทางเศรษฐกิจกับการพัฒนา: บทเรียนแห่งความฟุ้งซ่าน (ภัควดี วีระภาสพงษ์ แปลและเรียบเรียง)
1645. วิถีทางแบบอาเซียน และประวัติความเป็นมาสมาคมเอเชียอาคเนย์ (สมเกียรติ ตั้งนโม: แปลและเรียบเรียง)
1646. David Harvey: บทสัมภาษณ์จากบรรณาธิการนิตยสารซ้ายใหม่ (ตอน ๑) (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ )
1647. David Harvey: บทสัมภาษณ์จากบรรณาธิการนิตยสารซ้ายใหม่ (ตอน ๒) (ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์ )
1648. ๗ ตุลา ๒๕๕๑ เงื่อนไขความรุนแรงในสังคมไทยที่ยังเหมือนเดิม (รศ.ดร. ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ : ผู้ให้สัมภาษณ์)
1649. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ : การปฏิรูปการเมืองกับการออกแบบรัฐธรรมนูญ (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1650. ฮุสเซิลกับแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา : การทำพื้นที่ให้มีความหมายของเวลา (จริยา นวลนิรันดร์ : ผู้วิจัย)

1651. สารานุกรมศิลปะ: PICASSO, ART MUSEUM, AND PRINCETON ART MUSEUM (สมเกียรติ ตั้งนโม)
1652. สุลักษณ์ ศิวรักษ์ : วิกฤตร่วมสมัย "เมืองไทยก็เล่นละครกันทั้งนั้น" (ไอเอ็นเอ็น : สัมภาษณ์)
1653. พันศักดิ์ วิญญรัตน์ : คุณทักษิณไปแล้ว What do you do next? (ประชาไทออนไลน์ : สัมภาษณ์พิเศษ)
1654. การนวดพื้นบ้านไทย และความเจ็บป่วยตามแนวคิดการแพทย์แผนไทย (อัจฉรา บุญแทน : วิจัยและเรียบเรียง)
1655. Orhan Pamuk: สถาปนิกผู้ผันตัวเองมาเป็นนักประพันธ์รางวัลโนเบล ๒๐๐๖ (ปรีดี หงษ์สต้น : แปล)
1656. Alaa el-Aswany: นักวรรณกรรมต่อต้านรัฐของอียิปต์ยุคใหม่ (ปรีดี หงษ์สต้น : แปลและเรียบเรียง)
1657. ศิลปะเพื่อชีวิต: ทัศนศิลปที่ไม่สอนกันในมหาวิทยาลัยไทย (Sebastien TAYAC: คณะวิจิตรศิลป์ ม.ช.)
1658. บริโภคนิยมแนวความสุข : จากระบบฟอร์ดสู่ระบบหลังฟอร์ด (post-Fordism) (วรดุลย์ ตุลารักษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1659. บริโภคนิยมแนวความสุข : หัวใจของระบบทุนนิยมหลังสมัยใหม่ (วรดุลย์ ตุลารักษ์ : แปลและเรียบเรียง)
1660. บริโภคนิยมแนวความสุข : การแก้ปัญหาการบริโภคที่เหลื่อมล้ำ (วรดุลย์ ตุลารักษ์ : แปลและเรียบเรียง)

1661. สิทธิชนพื้นเมือง: ยุทธวิธีและผลกระทบต่อกฎหมายระหว่างประเทศ (๑) (สมชาย ปรีชาศิลปกุล : แปล)
1662. สิทธิชนพื้นเมือง: ยุทธวิธีและผลกระทบต่อกฎหมายระหว่างประเทศ (๒) (สมชาย ปรีชาศิลปกุล : แปล)
1663. รวมแถลงการณ์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน(วิกฤตสังคมไทย) และคำประกาศรัฐธรรมนูญ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๑
1664. มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: สงครามครั้งสุดท้ายของ National Robber Baron (พงศ์พันธ์ ชุ่มใจ : ประชาไท)
1665. โลกาภิวัตน์อันตราย? : อุปลักษณ์เชิงเทศะและคำถามเกี่ยวกับอำนาจรัฐ (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล)
1666. ศิลปะหลังสมัยใหม่: จากศิลปะเกี่ยวเนื่อง ถึงความลับในประวัติศาสตร์ (สมเกียรติ ตั้งนโม: แปล-เรียบเรียง)
1667. จาก"ภาวะหุบเหวของนักกฎหมายมหาชนไทย" ถึง"อหิงสธรรมของคานธี" (กองบรรณาธิการมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1668. ๑๐ ปีนักกฎหมายมหาชนไทย: ฤาจะตบเท้าเดินหน้าลงคลอง (รศ.ดร.วรเจตน์ ภาคีรัตน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1669. แนวความคิดเรื่องการดื้อแพ่งของนักปรัชญาอเมริกัน John Rawls (สมชาย ปรีชาศิลปกุล : นิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่)
1670. ปาฐกถาชุดพุทธธรรม: อำนาจแห่งความว่าง ความว่างแห่งอำนาจ (ดร. เสกสรรค์ ประเสริฐกุล, ปาฐก)

1671. ปลุกปั้นแอทแทค (ATTAC): ขบวนการต่อต้านโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่ (๑) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล)
1672. ปลุกปั้นแอทแทค (ATTAC): ขบวนการต่อต้านโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่ (๒) (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : แปล)
1673. ธรรมาภิบาลภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์: นัยต่อประเทศไทย (๑) (รศ. ดร.สมบูรณ์ ศิริประชัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1674. ธรรมาภิบาลภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์: นัยต่อประเทศไทย (๒) (รศ. ดร.สมบูรณ์ ศิริประชัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1675. Ron Mueck: ประติมากรผู้สร้างงานประติมากรรมอภิเหมือนจริงขนาดยักษ์ (รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1676. จากเรื่อง "ซื้อปืน-เลิกเสียภาษี" ถึง "I am very weak" ในวันคริสต์มาส (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1677. แรงงานข้ามชาติกับนายจ้าง การจ่ายส่วย และการศึกษาเด็กข้ามชาติ (กอแก้ว วงศ์พันธุ์ : นักวิจัยอิสระ)
1678. ศิลปกรรมและสุนทรียกรรมหลังสมัยใหม่: ในบริบทสื่อศิลปะ (อุทิศ อติมานะ : วจศ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1679(*). แถลงการณ์: ต้องลงโทษผู้กระทำผิดเพื่อนำนิติรัฐกลับสู่สังคมไทย (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1679. บทบาทของพระสงฆ์กับการเมือง: ตามพระธรรมวินัยและประวัติศาสตร์ (พระภูริพัฒน์ หอมแก้ว : เขียน)
1680. บทวิเคราะห์คำพิพากษาคดี"ผัวเมีย"กับการลงโทษของศาลไทย (รศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

1681. บทวิจัยวิทยุชุมชนถึงวิทยุซอกตึก คลื่นความถี่ของชุมชนธรรมดา (พินิตตา สุขโกศล: มหาวิทยาลัยนเรศวร)
1682.
หลากหลายอัตลักษณ์ของวิทยุชุมชน: ประสบการณ์ในต่างประเทศ (พินิตตา สุขโกศล : มหาวิทยาลัยนเรศวร)
1683. กรอบแนวคิดอันโตนิโอ กรัมชี กับการอธิบายการเมืองไทยร่วมสมัย (วัชรพล พุทธรักษา : มหาวิทยาลัยนเรศวร)
1684. จากการเมืองเรื่องเดมะกอก(demagogue) ถึงรัฐที่ล้มละลาย(Failed State) (ชำนาญ จันทร์เรือง: เขียน)
1685. ศาล กับ บทบาทในการส่งเสริมสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ทศพล ทรรศนกุลพันธ์: เรียบเรียง)
1686. หลังสมัยใหม่: การสร้างภาพแทน โลกาภิวัตน์ การบริโภค และทุนวัฒนธรรม (เอกรัฐ เลาหทัยวาณิชย์ : นักวิจัย)
1687. ติดอยู่ระหว่างสองขุมนรก: ว่าด้วยแรงงานพม่าย้ายถิ่นหญิงและเด็กหญิง (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)
1688. หนีเสือปะจระเข้ของแรงงานหญิงพม่า อนาคตที่ไม่มีแสงสว่าง (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)
1689. Engaged Buddhism: สาระที่แท้ของพุทธศาสนากับปฏิบัติการทางสังคม (พระเดโชพล ชนาสโภ : ผู้วิจัย)
1690. การรับรองสิทธิชุมชนและชนพื้นเมืองในระบบกฎหมายของต่างประเทศ (บุญชู ณ ป้อมเพ็ชร : ผู้วิจัย)

1691. คดีตัวอย่างเกี่ยวกับการรับรองสิทธิชุมชนในกฎหมายของต่างประเทศ (บุญชู ณ ป้อมเพ็ชร : ผู้วิจัย)
1692. โบลิเวียและปารากวัย: การเมืองหลังสมัยใหม่ในละตินอเมริกา (ภัควดี วีระภาสพงษ์ : เขียน)
1663. รัฐศาสตร์หลังสมัยใหม่: การเมืองที่ใหม่กว่าในละตินอเมริกา (ภัควดี วีระภาสพงษ์: นักวิชาการอิสระ)
1664. แถลงการณ์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เรื่อง ขอให้ยุติการคุกคามสื่อออนไลน์
1665. ฉันเพื่อน และคดีหมิ่นพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย (รศ.ดร.เกษียร เตชะพีระ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1696. กฎหมายเบื้องต้นเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1697. กฎหมายอากาศ: มาตรการกำจัดมลพิษฝุ่นควันในเขตภาคเหนือ (๑) (ไพสิฐ พาณิชย์กุล: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1698. กฎหมายอากาศ: มาตรการกำจัดมลพิษฝุ่นควันในเขตภาคเหนือ (๒) (ไพสิฐ พาณิชย์กุล: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1699. สุลักษณ์ ศิวรักษ์ รำลึกถึงชีวิตสุพจน์ ด่านตระกูล (ภาคผนวก: ธงชัย วินิจจะกูล) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1700. หยุด แสงอุทัย' กับหลัก 'The King can do no wrong' (ปิยบุตร แสงกนกกุล: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

1701. พระมหากษัตริย รัฐธรรมนูญ และ 'The King can do no wrong' (๑) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1702. พระมหากษัตริย รัฐธรรมนูญ และ 'The King can do no wrong' (๒) (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1703. แรงงานพม่าย้ายถิ่น: ทุกข์บนรองเท้าส้นสูงของแรงงานให้บริการทางเพศ (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)
1704. แรงงานหญิงพม่าย้ายถิ่น: แรงกดดันซ้ำซ้อนภายใต้กรอบผู้ชายเป็นใหญ่ (อัจฉรียา สายศิลป์ : เรียบเรียง)
1705. จากการล่มสลายของสหภาพโซเวียด ถึงทุนนิยมที่มีใบหน้าเป็นมนุษย์ (บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ : เขียน)
1706. Aesthetics: ความเรียงของ Arthur C. Danto เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ (รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม: แปล)
1707. ภาพยนตร์แนวสยองขวัญ: มุมมองผ่านทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (วิสิฐ อรุณรัตนานนท์: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1708. สุนทรียภาพเชิงนิเสธในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์สยองขวัญ (วิสิฐ อรุณรัตนานนท์: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1709. คำตอบจิตวิทยา: ทำไมเราจึงรู้สึกกลัวเมื่อชมภาพยนตร์สยองขวัญ (วิสิฐ อรุณรัตนานนท์: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1710. จิตวิเคราะห์ตอบปัญหา: ความพึงพอใจในการชมภาพยนตร์สยองขวัญ (วิสิฐ อรุณรัตนานนท์ : ผู้วิจัย)

1711. The Great Psychologists, from Aristotle to Freud: คำอธิบายภาพยนตร์สยองขวัญ (วิสิฐ อรุณรัตนานนท์)
1712. ความผิดฐาน "หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ": เอกลักษณ์ประชาธิปไตยไทย (ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ : เขียน)
1713. ยุติการใช้ความรุนแรงและยุบสภาเพื่อแก้ไขความขัดแย้งเฉพาะหน้า (แถลงการณ์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1714. ราณี...สตรีมุสลิมในประวัติศาสตร์ : จากท่าเรือโบราณ ถึงวังหลวง (สุภัตรา ภูมิประภาส : เขียน)
1715. การดื้อแพ่ง: การต่อต้านการเกณฑ์ทหารอเมริกันในสงครามเวียดนาม (รศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล : เรียบเรียง)
1716. อภิชราธิปไตย(gerontocracy): จากการเมืองอันเก่าแก่ ถึงนวนิยายวิทยาศาสตร์ (สมเกียรติ ตั้งนโม: เรียบเรียง)
1717. Nelson R. Mandela: ไม่มีหนทางสะดวกในการเดินทางสู่เสรีภาพ (สมเกียรติ ตั้งนโม: แปลและเชิงอรรถ)
1718. บทความเก่า: มนุษย์ในโลกข่าวสาร เมื่อความชั่วร้ายโปร่งแสงได้ (บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์: มหาวิทยาลัยศิลปากร)
1719. การเติบโตของรัฐแห่งความมั่นคง-การเสื่อมถอยของสิทธิมนุษยชน ๒๕๕๒ (ALRC : ภาษาไทย-อังกฤษ)
1720. ทฤษฎีการตีความของฮันส์-จอร์จ กาดาเมอร์ กับการตีความในพระพุทธศาสนา (พระเดโชพล ชนาสโภ : เขียน)

1721. องค์กรเหนือรัฐและองค์กรระหว่างรัฐบาล: จากทฤษฎีสู่กรณีเปรียบเทียบ (ดร.ธนวัฒน์ พิมลจินดา : เขียน)
1722. มองศาลชารีอะฮฺประเทศฟิลิปปินส์ มองย้อนกลับระบบศาลไทย (บุรฮานุดดิน อุเซ็ง : เขียน)
1723. สังคมนิยมในประเทศโลกที่สาม บทสรุปกรณีศึกษาในประเทศไทย (ศูนย์ประสานงานเยาวชนเพื่อประชาธิปไตย)
1724. Blind Sight, Lucid Dream: การตีความโลกและนาฏนฤมิตรกรรมของบุคคล (พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ : แปล)
1725. ภาพยนตร์ศิลปะแนวทดลอง-ภาพยนตร์อาว็องการ์ดในโลกตะวันตก (มณีกาญจน์ ไชยนนท์ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1726. Post-Feminism: แนวคิดสตรีนิยมคลื่นลูกที่สาม: แนวคิดหลังสตรีนิยม (มณีกาญจน์ ไชยนนท์ : นักวิจัย)
1727. Richard Rorty : ว่าด้วยหนังสือสองเล่มที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ (บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ - แปล)
1728. จากอาวุธข่มขืนล้างเผ่าพันธุ์ในคองโก ถึงโอบามาโจมตีวัฒนธรรมวัตถุนิยม (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
1729. ภูมิรัฐศาสตร์: มุมมองยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ที่มีต่ออิหร่าน (ภูวิน บุณยะเวชชีวิน: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
1730. จากปัญหาชาติพันธุ์-ลัทธิชาตินิยม ถึงความพร่ามัวของประชาคมอาเซียน (ดร.ธนวัฒน์ พิมลจินดา : เขียน)

1731. นักศึกษาเพศที่สามในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: การดำเนินชีวิตและสวัสดิการ (กฤษฎยชนม์ สุขยะฤกษ์)
1732. (๑) ประชาธิปไตยที่ยั่งยืน (๒)"จูเช"แนวนโยบายการเมืองใหม่แบบสังคมนิยม (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
1733. การเมืองทางวัฒนธรรมในบริบทของสังคมพหุลักษณ์: แนวคิดและทฤษฎี (ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี: เขียน)
1734. พิพิธภัณฑ์ในฐานะเครื่องมือของการเมืองทางวัฒนธรรม (ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
1735. รายงานหลังพายุนาร์กิส: เหตุการณ์ผีซ้ำด้ำพลอยจากปากแม่น้ำอิระวดี (อัจฉรียา สายศิลป์ : แปล)
1736. 100 ปีลัทธิฟิวเจอร์ริสม์: ลัทธิศิลปะแห่งการทำลาย (Futurism100) (รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียง)
1737. รวมสุนทรกถา ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ: (ปรีดี พนมยงค์ - รางวัลศรีบูรพา) (กอง บก.มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: รวบรวม)
1738. The Linz Museum: พิพิธภัณฑ์และงานศิลปะที่สาบสูญ (สมเกียรติ ตั้งนโม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1739. หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว: สัจนิยมมหัศจรรย์กับประวัติศาสตร์ละตินอเมริกา (ปรีดี หงษ์สต้น: เรียบเรียง)
1740. บทบาทของสหรัฐในองค์การความมั่นคงระหว่างประเทศยุคสงคราม (ดร.ธนวัฒน์ พิมลจินดา: เรียบเรียง)

1741. ขึ้นต้นด้วยปัญหาซับไพรม์ จบลงด้วยเศรษฐศาสตร์ของคาร์ล โพลันยี (รศ.ดร.เกษียร เตชะพีระ: เขียน)
1742. วิกฤตเศรษฐกิจ-วิกฤตโลก: วิกฤตหลายเชิงในยุคโลกาภิวัตน์ (รศ.ดร.เกษียร เตชะพีระ: เขียน)
1743. ทุนญี่ปุ่นกับระเบียงเศรษฐกิจ: ภูมิภาคานุวัติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (นรุตม์ เจริญศรี: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
1744. มองต่างมุม เหตุจลาจลในอิหร่าน: การปฏิวัติกำมะหยี่จอมปลอม (อนุชา เกียรติธารัย: มหาวิทยาลัยญามิอ์ มุศตอฟา)
1745. Pax Nipponica กับบทบาทของญี่ปุ่นที่มีต่อการพัฒนาลุ่มน้ำโขง (นรุตม์ เจริญศรี: เขียน)
1746. การพัฒนาลุ่มน้ำโขง: ผลประโยชน์ของญี่ปุ่นและการปรับตัวของไทย (นรุตม์ เจริญศรี: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
1747. การต่อต้านจักรวรรดิ: ศักดิ์ศรีแห่งอิสลาม และชีวิตแห่งความเรียบง่าย (สรรเสริญ สายธารพิสุทธิ์: กุม มุก็อดดัส)
1748. กุนเธอร์ กราสส์: คำบรรยายรางวัลโนเบล ๑๙๙๙ "โปรดติดตามตอนต่อไป..." (รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม: เรียบเรียง)
1749. จากทฤษฎีหน่วยสุดท้าย ถึงการเมืองและการปกครองของจีน (รวบรวมบทความ ดร.วีรพงษ์ รามางกูร)
1750. ๑.เสียงเพรียกถึงคาร์ตีนี ๒.พิมพ์เขียวประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (กอง บก. มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)

1751. ความหมายของ "ชาติไทย" และ "ความเป็นไทย" ของ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (รศ. สายชล สัตยานุรักษ์ : ผู้วิจัย)
1752. ข้อถกเถียงเรื่อง พุทธศาสนาเถรวาทมีมิติทางสังคมหรือไม่? (พระเดโชพล ชนาสโภ (เหมนาไลย): เขียน)
1753. Nineteen Eighty-Four (1984) George Orwell: อำนาจกับการขบถ (ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล: เขียน)
1754. แนะนำหนังสือน่าอ่านจากบล็อค เล่มที่หนึ่งร้อยหนึ่ง (กอง บก.มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : รวบรวม)
1755. My Father's Suitcase: กระเป๋าเดินทางของพ่อผม (Orhan Pamuk) (รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม: แปล)
1756. คำประกาศเนื่องในโอกาสการมอบเหรียญเจริญ วัดอักษร ประจำปี ๒๕๕๒ แก่สหภาพแรงงานไทรอัมพ์
1757. สันติภาพในอาเจะห์: จากคลื่นยักษ์สึนามิ ถึงการเริ่มต้นเจรจาที่กรุงเฮลซิงกิ (บทความนี้รับจากคุณ บุรฮานุดดิน อุเซ็ง)
1758. สันติภาพในอาเจะห์: อำนาจเปลี่ยนแปลงในจาการ์ต้า ถึงขบวนการอาเจะห์เสรี (บุรฮานุดดิน อุเซ็ง)
1759. สันติภาพในอาเจะห์: คนกลางต้องเป็นผู้ที่มีบารมีเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ (รับมาจาก: บุรฮานุดดิน อุเซ็ง)
1760. สันติภาพในอาเจะห์: เราไม่อาจแบกภาระความชั่วร้ายของโลกทั้งใบ (บทความรับมาจาก บุรฮานุดดิน อุเซ็ง)

1761. สันติภาพในอาเจะห์: นับแต่นี้ ไม่มีการแสวงหาเอกราชอาเจะห์อีกต่อไป (บทความจาก บุรฮานุดดิน อุเซ็ง)
1762. สันติภาพในอาเจะห์: ภาพพจน์ทหาร-ภารกิจหนักที่ต้องเร่งรัด (บทความรับมาจากคุณ บุรฮานุดดิน อุเซ็ง)
1763. ลงนามสัญญาสันติภาพที่สโมลนา-ความปิติยินดีในบันดาร์อาเจะห์ (บทความนี้ได้รับมาจากคุณ บุรฮานุดดิน อุเซ็ง)
1764. ปรัชญาสกุลหลังสมัยใหม่ ไม่ใช่ยุคสมัยในมิติเวลา แต่เป็นท่าทีแบบหนึ่ง (๑) (บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์)
1765. ปรัชญาสกุลหลังสมัยใหม่ ไม่ใช่ยุคสมัยในมิติเวลา แต่เป็นท่าทีแบบหนึ่ง (๒) (บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์)
1766. บทบาทของออสเตรเลียในอินโดนีเซีย - นโยบายกลับกลอกแต่มีเหตุผล (เมธินี ไชยคุณา: ผู้วิจัย)
1767. อมาตยา เซน - ทุนนิยมหลังวิกฤต: ไปให้พ้นมาตรการแก้ปัญหาระยะสั้น (สฤณี อาชวานันทกุล: แปล)
1768. สัมภาษณ์ ส.ศิวรักษ์: จากการปกป้องสถาบันฯ ถึงการเสียเขาพระวิหาร (มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: คัดลอก)
1769. Hegemony Theory / Fundamentalism / Globalizationism โดยสังเขป (เมธินี ไชยคุณา: ผู้วิจัย)
1770. Hegemony Theory / Fundamentalism / Globalizationism โดยสังเขป (ต่อ) (เมธินี ไชยคุณา: ผู้วิจัย)
1771. สุนทรียภาพของโศกนาฏกรรม: ปรัชญาความงามของอริสโตเติล (รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม: เรียบเรียง)

1780. ชีวิตในท้องนากับโลกาภิวัฒน์: หลุมพรางองค์กรทางเลือก (รศ.สมเกียรติ ตั้งนโม : บรรยายและตอบคำถาม)
1781. กษัตริย์กัมพูชา นางละครสยาม และข่าวที่ถูกห้ามเขียน (สุภัตรา ภูมิประภาส : นักวิชาการอิสระ)
1782. จากลัทธิชาตินิยมเก่าและใหม่ ถึงคำประกาศสันติภาพ (เบเนดิค แอนเดอร์สัน - ชาญวิทย์ เกษตรศิริ)
1783. อำนาจของความโศกเศร้า และประชาธิปไตยแบบเข้มข้น (ภูวิน บุณยะเวชชีวิน: มหาวิทยาลัยธรรมาสตร์)
1784. สุลักษณ์ ศิวรักษ์: แสวงหาสาระของประชาธิปไตยสำหรับเมืองไทย (สุลักษณ์ ศิวรักษ์: ปาฐก / จัดโดย ม.เที่ยงคืน)
1785. ครบ ๓ ปีวันประหารรัฐประชาธิปไตย: วงอภิปรายและเสวนาโดย คณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
1786. บทสนทนาระหว่างโสกราตีส และสกินเนอร์: ความจริง ความรู้ และธรรมชาต (ศศิน ดิศวนนท์: เขียน)
1787. วิเคราะห์ผู้ถูกปกครองเปรียบเทียบ จากคัมภีร์มานวธรรมศาสตร์ และคัมภีร์หลุนอวี่ (ศศิน ดิศวนนท์ : เขียน)
1788. Futures Studies: แนวคิดและวิธีการศึกษาอนาคต (จุมพล พูลภัทรชีวิน และ จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์: เขียน)
1789. ความโกรธทางศีลธรรม - การเปิดกว้างประชาธิปไตย (ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ - เกษียร เตชะพีระ)
1790. Economic Religion: เศรษฐศาสน์ในทัศนะของเสกสรรค์ ประเสริฐกุล (ม. เที่ยงคืน: รวบรวมและเชิงอรรถ)

1791. สุนทรียศาสตร์อินเดีย, จีน, และญี่ปุ่น (ฉบับย่อ) (รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
1792. การประกอบการทางสังคมจากปฏิบัติการสู่กรอบกฎหมาย : บททบทวนวรรณกรรม (วีรบูรณ์ วิสารทสกุล : แปล)
1793. เพื่อความเข้าใจที่ดีขึ้นของผู้ประกอบการทางสังคม : ประเด็นสำคัญที่แตกต่าง (วีรบูรณ์ วิสารทสกุล : แปล)
1794. อิทธิพลกรีกที่มีต่อสุนทรียศาสตร์ในปรัชญาอิสลาม ? (รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม: แปลและเรียบเรียง)
900. สารานุกรมลัทธิหลังสมัยใหม่และความรู้เกี่ยวเนื่อง (สมเกียรติ ตั้งนโม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)


ขณะนี้นักศึกษา สมาชิก และผู้อ่านกำลังอยู่ที่หน้าสารบัญที่ 9
ลำดับบทความจาก 1600 -1800

สารบัญ ๑ next (บทความ 001-200)
สารบัญ ๒ next (บทความ 200-400)
สารบัญ ๓ next (บทความ 400-600)
สารบัญ ๔ next (บทความ 600-800)

สารบัญ ๕ next (บทความ 800-999)
สารบัญ ๖ next (บทความ 1000-1200)
สารบัญ ๗ next (บทความ 1200-1400)
สารบัญ ๘ next (บทความ 1200-1400)



สนใจข้อมูลสาธารณะที่ส่งมาจากองค์กรต่างๆ คลิกไปดูได้ที่ป้ายข้างบน
เพื่อไปยังหน้า"สารบัญข้อมูล-จากองค์กรต่างๆ"

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า 1,700 เรื่อง หนากว่า 35,000 หน้า
ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง)
เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า สนใจสั่งซื้อได้ที่
midnightuniv(at)gmail.com
ส่งธนาณัติถึง
สมเกียรติ ตั้งนโม : ไปรษณีย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 50202
สมเกียรติ ตั้งนโม : คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนนสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50202
(หมายเหตุ : กรณีสั่งซื้อแผ่น CD-ROM จากต่างประเทศ ราคา 250 บาท รวมค่าจัดส่ง)
คลิกอ่านรายละเอียดที่กระดานข่าว ม.เที่ยงคืน

ไปหน้าแรกของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน I สมัครสมาชิก I สารบัญเนื้อหา 1I สารบัญเนื้อหา 2 I สารบัญเนื้อหา 3
สารบัญเนื้อหา 4 I สารบัญเนื้อหา 5 I สารบัญเนื้อหา 6 I สารบัญเนื้อหา 7 I สารบัญเนื้อหา 8
ประวัติ ม.เที่ยงคืน

webboard(1) I webboard(2)

e-mail : midnightuniv(at)gmail.com

หากประสบปัญหาการส่ง e-mail ถึงมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากเดิม
midnightuniv(at)yahoo.com

ให้ส่งไปที่ใหม่คือ
midnight2545(at)yahoo.com
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะได้รับจดหมายเหมือนเดิม

 

สมเกียรติ ตั้งนโม และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
(บรรณาธิการเว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน)
หากสมาชิก ผู้สนใจ และองค์กรใด ประสงค์จะสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ชุมชน และสังคมไทยของเวบ็ปไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน สามารถให้การสนับสนุนได้ที่บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ในนาม สมเกียรติ ตั้งนโม หมายเลขบัญชี xxx-x-xxxxx-x ธนาคารกรุงไทยฯ สำนักงานถนนสุเทพ
อ.เมือง จ.เชียงใหม่ หรือติดต่อมาที่ midnightuniv(at)yahoo.com หรือ midnight2545(at)yahoo.com

ข้อความใดๆก็ตามที่ปรากฏบนเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เป็นของเจ้าของชื่อ หรือนามแฝง หรือ IP ของผู้นั้น
ซึ่งไม่อยู่ในวิสัยความรับผิดชอบโดยตรงของบรรณาธิการเว็บไซต์นี้
หากพบข้อความใดบนเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนที่หมิ่นประมาท หรือล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ชุมชน และสังคม
กรุณาแจ้งให้ทราบ เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขโดยเร็วที่สุด
(หากพบข้อความดังกล่าว กรุณาแจ้งให้ทราบที่ midnightuniv(at)gmail.com)

ถ้อยแถลง
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนกำลังจัดทำบทความที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ทั้งหมด กว่า 1700 เรื่อง หนากว่า 35,000 หน้า ในรูปของ CD-ROM เพื่อบริการให้กับสมาชิกและผู้สนใจทุกท่านในราคา 150 บาท(รวมค่าส่ง) เพื่อสะดวกสำหรับสมาชิกในการค้นคว้า
สนใจสั่งซื้อได้ที่ midnightuniv(at)yahoo.com

 

 

เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน สร้างขึ้นมาเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถเข้าถึงอุดมศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเรียนผ่านระบบการศึกษาที่เป็นทางการ
หน้าสารบัญบทความ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ตั้งแต่ลำดับที่ 1600 - 1800 : เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2550 : ขึ้นปีที่ 8 (พศ. 2543 - พศ.2551)
The Alternative higher education : 2000-2008

กลับไปหน้าสารบัญห้า
กลับไปหน้าสารบัญหก
กลับไปหน้าสารบัญเจ็ด
กลับไปหน้าสารบัญแปด

กลับไปหน้าสารบัญหนึ่ง
กลับไปหน้าสารบัญสอง
กลับไปหน้าสารบัญสาม
กลับไปหน้าสารบัญสี่